Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เก็บสาระจากวารสารต่างประเทศ

เก็บสาระจากวารสารต่างประเทศ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • ฝังเข็มแก้ปวดหลัง

    วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    Thomas KJ, MacPherson H, et al. Randomised controlled trial of a short course of traditional acupuncture compared with usual care for persistent non-specific low back pain. BMJ 2006;333:15 sept. ประมาณร้อยละ 2 ของวัยผู้ใหญ่ในประเทศอังกฤษนิยมการรักษาด้วยการฝังเข็ม อาการปวดหลังเป็นอาการหนึ่งที่คนอังกฤษนิยมใช้การฝังเข็มรักษา. ...
  • ฉีดวัคซีนใช้เข็มยาวหรือสั้นดี

    วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    Diggle L, Deeks JJ, Pollard AJ. Effect of needle size on immunogenicity and reactogenicity of vaccines in infants : randomised controlled trial. BMJ 2006;333: 571-7.ใครจะคิดว่าความยาวของเข็มฉีดยามีผลต่อการ ฉีดวัคซีนแตกต่างกัน. แต่ละปีแต่ละปีเด็กเล็กในประเทศอังกฤษถูกฉีดวัคซีนเมื่ออายุ 2, 3, และ 4 เดือน โดยยังไม่มีความรู้ชัดเจนว่าขนาดและความยาวของเข็มมีผลทางลบ ...
  • Rofecoxib มีพิษต่อหัวใจและไตจริงหรือไม่

    วารสารคลินิก 263 ตุลาคม 2549
    Zhang J, Ding EL, Song Y. Adverse effects of cyclooxygenase 2 inhibitors on renal and arrhythmia events Meta-analysis of randomized trials. JAMA 2006;296:sept 12.ยากลุ่ม cox-2 inhibitor เหนือกว่า cox-1 inhibitor ในการแก้ปวดแก้อักเสบตรงที่ว่า ไม่กัดกระเพาะและอาจเป็นพิษต่อไตน้อยลง โดย rofecoxib และ celecoxib ...
  • estrogen อย่างเดียวทำให้เสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมหรือไม่

    วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    Stefanick ML, et al. Effects of conjugated equine estrogens on breast cancer and mammography screening in postmenopausal women with hysterectomy. JAMA 2006;295:1647-57.ก่อนหน้ามีการศึกษาพบว่าการให้ฮอร์โมน estrogen ร่วมกับ progesterone เพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม. ต่อมามีคำถามว่าในสตรีที่ตัดมดลูกออกไปแล้วได้รับ estrogen ทดแทนอยู่ มีความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมด้วยหรือไม่ยังไม่มีข้อสรุป. ...
  • เป็นหวัด น้ำมูกเหลืองต้องใช้ antibiotic หรือไม่

    วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    Arroll B, Kenealy T. Are antibiotics effective for acute pururent rhinitis? Systematic review and meta-analysis of placebo controlled randomised trials. BMJ 21 July 2006.ผู้ป่วยหวัดเฉียบพลันที่มีน้ำมูกเหลือง (acute purulent rhinitis) มักถูกตัดสินว่า น่าจะมีการติดเชื้อแบคทีเรีย จึงได้รับการรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะ แม้ว่าจะมีข้อแนะนำทางเวชปฏิบัติว่ายังไม่จำเป็นต้องใช้ในผู้ป่วยที่เป็นเฉียบพลัน ...
  • กดจุด หรือกายภาพบำบัด ใครแก้ปวดหลังดีกว่ากัน

    วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    Hsieh LL, et al. Treatment of low back pain by acupressure and physical therapy : randomised con-trolled trial. BMJ 25 March 2006;332:696-700.นักวิจัยไต้หวัน ศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วยจำนวน 129 คนที่ปวดหลังส่วนล่างมาอย่างน้อย 1 เดือน มีการประเมินระดับความรุนแรงของอาการโดยใช้แบบสอบถามที่เรียก Roland and Morris Disability. ผู้ป่วยในการศึกษานี้ มีอาการอยู่ในขั้นไม่รุนแรง ...
  • ไส้เลื่อน ต้องรีบผ่าตัดหรือไม่

    วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    Fitzgibbons RJ Jr, et al. Watchful waiting is a safe and acceptable option for men with asymptomatic or minimally asymptomatic men : a randomized clinical trial. JAMA 2006;295:285-92.ผู้ป่วยไส้เลื่อนจำนวนมากมักไม่มีอาการ หรือมีอาการบ้างเวลาเคลื่อนไหว แพทย์จึงไม่ได้รีบผ่าตัดให้ และอาจรอจนกว่ามีอาการปวดจึงผ่าตัดรักษา ซึ่งเป็นวิธีการรักษามาตรฐานเพื่อป้องกันการแทรกซ้อนจากลำไส้ถูกรัด. ...
  • แผลเย็บเปียกน้ำได้หรือไม่ใน 24 ชั่วโมงแรก

    วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    Heal C, et al. Can sutures get wet? Prospective randomised controlled trial of wound management in general practice. BMJ 24 April 2006.ข้อแนะนำสำหรับผู้ป่วยในการดูแลแผลเย็บจากการผ่าตัด คือบอกผู้ป่วยไม่ให้แผลถูกน้ำอย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง. แต่ข้อปฏิบัตินี้ถูกท้าทายด้วยการวิจัยต่อไปนี้ว่าจำเป็นหรือไม่ที่แผลเย็บถูกน้ำไม่ได้.การศึกษานี้ทำในรัฐ Queensland ประเทศออสเตรเลีย ...
  • กิน omega 3 เสริม ลดโอกาสเสี่ยงตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดได้หรือไม่

    วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    Hooper L, et al. Risk and benefits of omega 3 fats for mortality, cardiovascular disease, and cancer : systematic review. BMJ 2006;332:752-60.แต่เดิมการศึกษาวิจัยในคนกรีนแลนด์ พบว่าไขมันปลาอุดมด้วย long chain omega 3 (eico- sapentaenoic acid (EPA), docosapentaenoic acid (DPA), และ docosahexaenoic acid (DHA)) ช่วยลดการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด ส่วนพวก short chain omega ...
  • ยาหยอดตา chloramphenico รักษาตาแดงจำเป็นหรือไม่

    วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    Rose PW, et al. Chloramphenicol treatment for acute infective conjunctivitis in children in primary care a randomized double-blind placebo controlled trial. Lancet 2005;366:37-43.การศึกษา randomised controlled trial นี้ทำในประเทศอังกฤษเพื่อดูว่า ยาหยอดตาchloramphenicol สามารถรักษาตาแดงเฉียบพลันในเด็กได้ผลหรือไม่เมื่อเทียบกับยาหลอก. เด็กที่อยู่ในการศึกษานี้จำนวน 326 คน อายุ 6 ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa