Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » กวี คงภักดีพงษ์

กวี คงภักดีพงษ์

  • พรหมจรรย์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ยุคสมัยปัจจุบัน ศีลและวินัยดูจะเป็นอะไรที่ค่อนข้างยากและตายตัว บางคนถึงกับมองว่ามันเป็นผลเสียต่อสุขภาพทั้งกายใจ โดยเฉพาะแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มฟรอยด์ มองว่ามันเป็นเพียงการกดข่ม ที่เต็มไปด้วยอันตรายยกตัวอย่างเช่น ผู้ประพฤติพรหมจรรย์มักถูกวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งวงการแพทย์และนักจิตวิทยา ประเด็นที่โต้แย้งคือ ความขัดแย้งระหว่างการหักห้ามใจตนเองกับผลของมัน ...
  • อหิงสา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    คนทั่วไปแปลคำศัพท์ "อหิงสา" ว่าการไม่ใช้ความรุนแรง และแปลคำศัพท์ "หิงสา"Ž หมายถึง ความรุนแรงจริงๆ แล้ว หิงสาน่าจะหมายถึง "ความตั้งใจ" ที่จะฆ่า ที่จะทำร้าย คำคำนี้ไม่ใช่ความหมายทางด้านการกระทำ แต่เป็นทางด้านทัศนคติมากกว่า หากเราเข้าใจความหมายอย่างถูกต้อง เราก็จะพลอยเข้าใจถึงสาระของมหากาพย์ ภควัทคีตา ที่เป็นเรื่องของอหิงสาด้วย คือเกิดความเข้าใจว่าทั้งๆ ...
  • รักษาความสมดุลกาย-ใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ยมะ และนิยมะ เป็นองค์ปฐมแห่งพฤติของจิตในโยคะในโยคะนี้มีอีกนิยามคือ กริยาโยคะ หรือการชำระล้างและจัดปรับสภาวะเสียใหม่เป้าหมายของกริยาโยคะก็เพื่อช่วยให้เรารักษาความสมดุลของกาย-ใจให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ แม้ในขณะที่ต้องเผชิญกับสิ่งเร้าอันรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งเร้าจากภายนอก หรือจากภายในก็ตามยมะ คือหลักที่เฉพาะเจาะจงของความประพฤติต่อสังคมนิยมะ ...
  • การพัฒนาทัศนคติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    โยคะให้ความสำคัญกับการพัฒนาทัศนคติอย่างยิ่ง ในเรื่องของการมีสำนึกกำกับอยู่กับกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เพื่อการพัฒนาวินัยในตนเอง และเพื่อฝึกฝนตนเอง เรียกว่า ยมะ และ นิยมะ ยมะนั้นเป็นการบังคับ – ห้าม เพื่อฝึก เพื่อจัดปรับพฤติกรรม โดยเฉพาะทัศนคติที่อยู่เบื้องหลังพฤติกรรมนั้น ที่หากไม่บังคับเอาไว้ จะนำไปสู่การก่อให้เกิดปัญหาในสังคมขณะที่นิยมะเน้นการสร้าง พัฒนานิสัยและทัศคติที่ดีๆ ให้เกิดมากขึ้นๆ ...
  • โยคะบำบัด : ทำจิตใจให้สงบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    ดูเหมือนแพทย์แผนปัจจุบันจะปฏิเสธไม่ได้กับนิยามของโยคะโบราณนี้ ทิศทางล่าสุดได้ยอมรับสมุฏฐานของโรคแบบองค์รวม แทนที่จะมองโรคแบบแยกเป็นอวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์ แบบเดิม ซึ่งกลายเป็นเพียงจุดเล็กๆ ของกระบวนการทางชีวเคมี กระบวนการทางชีวฟิสิกส์ที่ปรับเปลี่ยนไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุดของระบบของเหลวในร่างกายส่วนของจิตที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของกลไกภายในก็เริ่มได้รับความสนใจมากขึ้นๆในอีกด้านหนึ่ง ...
  • สร้างความเข้าใจต่อทัศนคติทางด้านจิตอย่างถูกต้อง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    สร้างความเข้าใจต่อทัศนคติทางด้านจิตอย่างถูกต้องการพัฒนาทัศนคติทางจิตวิทยาที่ถูกต้องคือสาระในโยคะบำบัด ทัศนคติที่มีในเรื่องทั่วๆ ไป ทัศนคติที่มีต่อสิ่งรอบตัวที่เฉพาะเจาะจงมีความสำคัญยิ่งไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม ไม่เพียงต่อด้านกายจิตสัมพันธ์ ต่ออาการเรื้อรัง ต่อกลไกการสันดาป ต่อความเจ็บป่วย แต่ยังรวมไปถึงต่อการอักเสบด้วย มองมนุษย์เป็นองค์รวมโยคะไม่ได้มองมนุษย์ว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆ ...
  • นิยามของโรคในโยคะ และหลักการรักษาของโยคะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    นิยามของโรคในโยคะ และหลักการรักษาของโยคะโยคะเป็นเรื่องของใจและจิตวิญญาณ แต่จากการศึกษาโยคะสูตรของปตัญชลี อย่างพินิจพิเคราะห์ ก็จะพบว่าโยคะมองกายใจเป็นหนึ่งเดียวเป้าหมายของโยคะ ก็เพื่อนำมาซึ่งหนทาง วิธีการในอันที่จะช่วยร่างกายและจิตใจให้คงความสมดุล หรือฟื้นฟูความสมดุลให้กลับคืนมาโดยเร็ว เมื่อเกิดการรบกวนขึ้นดังนั้น โยคะจึงผนวกรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงในการดูแลกาย เช่น อาสนะ ปราณยามะ ...
  • โยคะบำบัด(๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    โยคะบำบัด(๑)ผู้เขียนเชื่อว่าผู้ที่ศึกษาโยคะทุกคนเข้าใจสาระทางจิตของโยคะเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ผู้ศึกษาโยคะจำนวนมากทำงานอยู่ในแวดวงสาธารณสุข และมีคำถามเรื่อง "โยคะบำบัด" มาก จึงขออนุญาตทยอยแปลหนังสือโยคะบำบัด โดยสวามีกุลวัลยนันท์ และดอกเตอร์วินาคาร์ มาให้อ่านกัน Yoga Therapy : its Basic Principles and Methods* ตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๖ โดยรัฐบาลอินเดียเป็นผู้สนับสนุนการพิมพ์ ...
  • กริยาประเภทที่ ๖ บาสติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 313 พฤษภาคม 2548
    กริยาประเภทที่ ๖ บาสติเราได้อธิบายเทคนิคของกริยา (การชำระล้าง) มาแล้ว ๕ ประเภท ได้แก่ ๑ ตาตระกะ (ท่อทางเดินน้ำตา) ๒ เนติ (โพรงจมูก) ๓ กะปาละภาติ (ระบบทางเดินอากาศ) ๔ เดาติ (ระบบย่อยอาหารส่วนบน) ๕ นาอุลิ (ช่องท้อง) คราวนี้เรามาดูเทคนิคสุดท้ายคือบาสติ ซึ่งเป็นการทำความสะอาดระบบย่อยอาหารส่วนล่าง คำว่า บาสติ แปลว่า ช่องท้องส่วนล่าง ...
  • กริยา : เดาติ นาอุลิ และ บาสติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    พึงระลึกว่า โยคะเป็นภูมิปัญญาโบราณจากอินเดีย ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพามนุษย์ไปสู่เป้าหมายสุดท้ายแห่งการที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ คือทำกิจที่ควรทำให้เสร็จสิ้น ให้หมดจด เพราะเมื่อเราได้ทำกิจที่ควรทำเรียบร้อยแล้ว เราจะได้ "ไม่ต้องกลับมาเกิดอีก" และเทคนิคการฝึกโยคะทั้งหลาย ก็มีจุดมุ่งหมายที่จะนำพาผู้ฝึกไปเพื่อการนี้ทั้งสิ้นเรากำลังอยู่ในเรื่องของเทคนิคกริยา ที่หมายถึงการชำระล้าง ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa