-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
227
มีนาคม 2541
น้ำฝรั่งสดครั้งนี้ดิฉันขอแนะนำให้คุณผู้อ่านมากินฝรั่งค่ะ เปล่านะคะ ดิฉันไม่ได้แนะนำอาหารฝรั่งที่พูดถึงคือผลไม้ที่ชื่อ “ฝรั่ง” ค่ะ ดิฉันเข้าใจว่าคงเป็นผลไม้ที่นำเข้ามาปลูกจากต่างประเทศ จึงตั้งชื่อไว้ให้รู้ว่าไม่ใช่ผลไม้พื้นเมือง ฝรั่งเป็นผลไม้ที่มีตลอดปี ราคาก็ไม่แพงมาก และปลูกได้ในทุกภาค จึงเป็นผลไม้ที่เหมาะสำหรับคนไทยในฝรั่งมีวิตามินซีมาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
226
กุมภาพันธ์ 2541
กุ้งอบวุ้นเส้นสวัสดีเดือนกุมภาพันธ์ เดือนแห่งความรักนะคะ ระยะนี้ได้ยินคนรอบข้างบ่นถึงกันแต่ว่าน้ำหนักขึ้น อ้วนขึ้น เดือนนี้ก็เลยอยากจะแนะนำอาหารหนึ่งอิ่ม กำลังดี “กุ้งอบวุ้นเส้น” คือ รายการที่พูดถึงส่วนผสมหลักๆ ก็มีวุ้นเส้นและกุ้ง สำหรับคนที่ไม่กินกุ้งจะเปลี่ยนเป็นปูแทนก็ได้นะคะ ไม่ผิดกติกา จะเห็นว่าเครื่องปรุงนั้นส่วนผสมจะเน้นไปที่สมุนไพรหลายอย่าง เช่น พริกไทยดำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
225
มกราคม 2541
ยำคะน้ากรอบถ้าเอ่ยถึงผักคะน้า คงคุ้นเคยกับข้าวผัด ผัดคะน้าหมูกรอบ หรือราดหน้า ผัดซีอิ้ว วันนี้เรามาลองรู้จักผักคะน้าในรูปแบบใหม่กันนะคะ ‘ยำคะน้ากรอบ’ หลักๆ ก็ต้องมีคะน้าเป็นตัวยืน ตามสูตรจริงๆ แล้วต้องใช้ต้นคะน้าสด ซึ่งจะคล้ายๆกับการนำต้นคะน้ามาเป็นผักแกล้มกับอาหารพวกหมูมะนาวหรือกุ้งมะนาว แต่ถ้าคุณแม่บ้านยังไม่คุ้น หรือ ไม่กล้ากินผักคะน้าดิบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
224
ธันวาคม 2540
ยำสารพัดเห็ดคุณแม่บ้านทราบไหมคะ ถ้าพูดกันถึงโปรตีนจากพืช ก็คงจะนึกถึงถั่วเหลืองเป็นอันดับแรก เพราะนมถั่วเหลือง ๑๐๐ กรัม มีโปรตีนถึง ๓.๔๐ กรัม สำหรับ “เห็ด” ก็มีโปรตีนไม่แพ้กัน นั่นก็คือ เห็ด ๑๐๐ กรัม มีโปรตีนประมาณ ๒.๔๐ กรัม แล้วยังอุดมไปด้วยแร่ธาตุต่างๆ คือ ฟอสฟอรัส วิตามินบี ๒, บี ๓ ( niacin ) , บี ๕, บี ๖ แล้วอย่างนี้เราจะละเลยไม่กินเห็ดกันได้อย่างไรคะคุณแม่บ้านคงคุ้นเคยกับต้มยำ หรือแกงจืด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
223
พฤศจิกายน 2540
ยำทวายเข้าครัวฉบับนี้ หันมาเอาใจผู้ที่ต้องการจะควบคุมน้ำหนัก และกินให้ได้ประโยชน์กับร่างกายเต็มที่ เพราะจานนี้จะเน้นผักนานาชนิด นำมายำรวมกัน แต่ยำทวายจะเป็นยำที่ไม่มีรสจัดจ้าน ดุเดือดเหมือนยำทั่วๆ ไป รสชาติของยำทวายจะเผ็ดน้อยๆ ออกรสหวานอมเปรี้ยว จะมีกลิ่นหอมของหัวหอมเจียวและกะทิทวาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ว่า ชื่อยำชนิดหนึ่ง มีผักลวก เช่น ผักบุ้ง กะหล่ำปลี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
222
ตุลาคม 2540
เมี่ยงปลาช่อน“ปลาเห็นเหยื่อแต่ไม่เห็นเบ็ดคนเห็นผลประโยชน์แต่ไม่เห็นโทษ”เป็นสุภาษิตจีนที่มีมาแต่โบราณ จะเห็นว่า มนุษย์รู้จักจับปลามาเป็นอาหารนานแล้ว จนทุกวันนี้ปลายังเป็นอาหารที่สำคัญของมนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา เพราะปลาเป็นสัตว์ที่มีประชากรมากที่สุดในบรรดาสัตว์ที่มีกระดูกทั้งหลาย แทบจะกล่าวได้ว่า “มีน้ำที่ไหน มีปลาที่นั่น"เมื่อเทียบกับเนื้อวัว หมู และไก่แล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
221
กันยายน 2540
ยำหัวปลีเข้าครัวฉบับนี้ ชวนคุณแม่บ้านมาทำอาหารจากหัวปลี ผักที่หาได้ตลอดฤดูกาลยิ่งบ้านไหนมีต้นกล้วย บางทีไม่รู้จะเอาหัวปลีมากินกับอะไร เข้าครัวจานนี้แนะนำ “ยำหัวปลี”วิธีปรุงนำหัวปลีหั่นฝอย แช่ในน้ำที่บีบมะนาวเพื่อไม่ให้ดำ มะพร้าวขูด แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกนำมาคั่วให้เหลือง อีกส่วนคั้นเอาหัวกะทิให้ได้ ถ้วย กุ้งแห้ง ถั่วลิสงตำป่น หมูสับรวนให้สุก หัวหอมและกระเทียมซอยเจียว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
220
สิงหาคม 2540
ปลาจีนนึ่งบ๊วย"ป ปลานั้นหายาก ต้องลำบากออกเรือไป...” คุณแม่บ้านคงเคยได้ยินลูกๆ ท่องอาขยานบทนี้จากในภาพยนตร์โฆษณาชิ้นหนึ่ง รู้สึกว่าจะฮิตติดปากเด็กๆ อยู่นานพักหนึ่ง “เข้าครัว” ฉบับนี้ก็เลยจะพาคุณแม่บ้านไปลุยน้ำจับปลากัน กับอาหารที่ชื่อว่า “ปลาจีนนึ่งบ๊วย”วิธีปรุงเริ่มจากการเลือกปลา ต้องเลือกที่สด โดยให้กดเนื้อปลาดู เนื้อปลาจะต้องแข็ง ไม่เละ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
216
เมษายน 2540
สลัดแขกปัจจุบันมีผู้สนใจเรื่องอาหารการกินเพื่อสุขภาพกันมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด หลายคนหลีกเลี่ยงอาหารที่กินแล้วกระตุ้นให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ถ้าเป็นกับข้าวก็มักเลี่ยงแกงที่ใส่กะทิ หันมากินแกงป่า แกงเลียง แกงจืด แกงส้ม ฯลฯ อาหารประเภททอดก็สนใจน้อยลง จะมีก็แต่เด็กวัยรุ่นเท่านั้นที่นิยมกินอาหารทอดๆ ตามอย่างฝรั่งโดยไม่เกรงว่า “โรคอ้วน” จะมาเยือน“เข้าครัว” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
215
มีนาคม 2540
ปลากราย กะเพรากรอบ“เข้าครัว” ฉบับแนะนำปลากราย กะเพรากรอบ อาหารจานด่วนที่มีวิธีทำไม่วุ่นวายเท่าไรนัก ทั้งได้รสชาติเข้มข้นคงถูกใจผู้ที่ชอบอาหารเผ็ดร้อนโดยเฉพาะคุณแม่บ้านที่ต้องทำงานนอกบ้านปลากราย กะเพรากรอบ จานนี้จะไม่ทำให้คุณยุ่งยากหรือเสียเวลามากในการลงมือปรุงให้สมาชิกในครอบครัวกินเป็นอาหารมื้อเย็น ...