Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ภาษิต ประชาเวช

ภาษิต ประชาเวช

  • ผลยาหลอก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ผลยาหลอก“คุณหมอครับ ยาแก้ปวดเม็ดสีขาวที่คุณหมอจ่ายให้ไปกินคราวที่แล้ว ผมกินแล้วไม่ค่อยได้ผล ขอเป็นเม็ดสีฟ้าขาวอย่างครั้งก่อนๆ โน้นดีกว่าครับ” คนไข้ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนเป็นประจำมาขอร้องให้หมอสั่งยาตามสีสันที่ชอบ“เอ้า...หมอบอกตรงๆว่ายาเม็ดสีขาวกับสีฟ้าขาวเป็นตัวยาแก้ปวดพาราเซตามอลเหมือนๆกัน ต่างกันตรงยี่ห้อและสีสันเท่านั้น ฤทธิ์ยาไม่น่าจะต่างกัน...” ...
  • อิมมูน–ภูมิคุ้มกัน (อีกครั้ง)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    อิมมูน–ภูมิคุ้มกัน (อีกครั้ง)เมื่อหลายฉบับก่อนได้กล่าวถึงความหมายของคำว่า “อิมมูน - ภูมิคุ้มกัน” และ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน” รู้สึกว่ายังมีแง่มุมบางอย่างที่ยังไม่ได้กล่าวถึง จึงใคร่ขอเพิ่มเติมเพื่อให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า “อิมมูน” (immune) หรือ “อิมมูนิตี้” (immunity) ...
  • การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันภูมิคุ้มกัน หรืออิมมูน มีบทบาทสำคัญต่อการเกิดโรค ถ้าภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอหรือแปรปรวน ก็ง่ายต่อการเกิดโรคติดเชื้อ (เช่น ไข้หวัด วัณโรคปอด) โรคมะเร็ง รวมทั้งโรคภูมิแพ้และโรคภูมิต้านทานตัวเอง (ออโตอิมมูน)ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภูมิคุ้มกันของร่างกายนั้นมีอยู่มากมาย ตัวอย่างที่รู้จักกันดี ก็คือ เจ้าเชื้อไวรัสเอชไอวี (เชื้อเอดส์) ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ...
  • อิมมูน – ภูมิคุ้มกัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    อิมมูน – ภูมิคุ้มกันได้เขียนถึงเรื่องของ “โรคภูมิต้านตัวเอง” หรือ “ออโตอิมมูน” มา 2 ฉบับแล้ว ก็เลยขอถือโอกาสขยายความเกี่ยวกับคำว่า “อิมมูน” ต่อเลยดีไหมครับ มีอยู่บ่อยครั้งที่ผู้อ่านอาจรู้สึกงงงวยเมื่อเข้าไปในโรงพยาบาลแล้วเหลือบเห็นป้าย “แผนกอิมมูนวิทยา” หรืออ่านบทความทางการแพทย์พบกับประโยคว่า“โรคนี้สาเหตุเกิดจากอะไรไม่ทราบแน่ชัด ...
  • โรคภูมิแพ้ / โรคภูมิต้านตัวเอง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 160- สิงหาคม 2535
    โรคภูมิแพ้ / โรคภูมิต้านตัวเองครั้งที่แล้วได้พูดกันถึง โรคภูมิแพ้ตัวเอง หรือออโตอิมมูน อันเกี่ยวข้องกับการตายของราชินีลูกทุ่งไทยร่วมสมัย ซึ่งกลายเป็นเรื่องราวที่กล่าวขานกันในคนแทบทุกชนชั้นอาชีพ จะกล่าวว่าเป็น “โรคพุ่มพวงฟีเวอร์” กันถ้วนหน้าก็คงไม่ผิดกระมังเมื่อผู้ตายเป็นคนดัง โรคที่ผู้ตายเป็นก็พลอยดังไปด้วย แถมยังเป็นโรคใหม่ที่มีชื่อแปลกๆ ...
  • ออโตอิมมูน-โรคภูมิแพ้ตัวเอง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    ออโตอิมมูน-โรคภูมิแพ้ตัวเอง“ยืนยันจากนายแพทย์พิศิษฐ์ จิรวงศ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราชว่า อาการป่วยของพุ่มพวง คือ โรคแพ้ภูมิตัวเอง ถ้าหมั่นมาหาหมอรักษา ชีวิตเธอก็คงยังไม่ตาย แต่เพราะการศึกษาที่น้อยไม่รู้หนังสือ ทำให้เธอหันไปพึ่งพาไสยศาสตร์ ขับไล่ภูตผีที่ไม่มีตัวตน สุดท้ายก็เสียไปอย่างง่าย”นี่คือข้อความตอนหนึ่งในคอลัมน์ “บุคคลในข่าว” หน้า4 ไทยรัฐ ...
  • งูสวัดเป็นรอบเอวแล้วตาย???

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    งูสวัดเป็นรอบเอวแล้วตาย???ครั้งที่แล้วได้พูดถึงความเชื่อชาวบ้านเกี่ยวกับเรื่องของ “หัดหลบใน” ครั้งนี้มาว่ากันด้วยเรื่องของ “งูสวัด” ดีไหมครับมีอยู่บ่อยครั้งเมื่อหมอตรวจพบว่าเป็น “งูสวัด” คนไข้และญาติคนไข้จะถามหมออย่างหน้าตาตื่นว่า“คุณหมอครับ งูสวัดถ้าเป็นรอบเอวแล้วมักจะตายจริงไหมครับ?”หมอก็มักจะตอบว่า “ไม่จริงหรอก งูสวัดจะขึ้นข้างเดียว ...
  • โรคไม่แสดงอาการ (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    โรคไม่แสดงอาการ (ตอนที่ 2)ครั้งที่แล้วได้กล่าวถึงโรคความดันเลือดสูงว่า เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ เปรียบเสมือน “มัจจุราชมืด” ที่คอยคุกคามชีวิตของผู้คนอย่างเงียบกริบ ครั้งนี้มาดูกันซิว่า ยังมีโรคอื่นๆ อะไรอีกบ้างที่เป็น “มัจจุราชมืด”“หมอตาเขายังไม่ยอมผ่าต้อกระจกของดิฉัน เพราะตรวจเลือดแล้วบอกว่าดิฉันเป็นโรคเบาหวาน เขาเลยส่งมาให้คุณหมอตรวจดูอีกครั้ง...” ...
  • โรคไม่แสดงอาการ (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    โรคไม่แสดงอาการ (ตอนที่ 1)เย็นวันหนึ่ง เมื่อหมอกลับถึงบ้าน ก็มีญาติผู้ป่วยที่รู้จักมักคุ้นกันคนหนึ่งวิ่งกระหืดกระหอบมาตามหมอให้ไปดูผู้ป่วยที่บ้านซึ่งอยู่ใกล้ๆ“คนไข้บ่นจุกแน่นหน้าอกมาตั้งแต่เมื่อคืน เย็นนี้เข้าห้องน้ำ จู่ๆ ก็เป็นลมหมดสติฟุบคาห้องน้ำ...” ญาติเล่าให้หมอฟังผู้ป่วยเป็นหญิงอายุ 50 ปีเศษ เป็นโรคความดันเลือดสูงมาร่วม 10 ปี แต่รักษาตัวไม่สม่ำเสมอ ...
  • สำส่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    สำส่อนครั้งที่แล้วได้พูดจากันถึงคำว่า “เที่ยว” คำที่มีความหมายคล้ายๆ กันอีกคำหนึ่งก็คือ คำว่า “สำส่อน”ในขณะนี้ คำนี้กำลังฮิตคู่กับโรคเอดส์ เรามักจะได้ยินได้เห็นคำเตือนภัย เช่น “ป้องกันโรคเอดส์ด้วยการเลิกยาเสพติด และเลิกสำส่อนทางเพศ” ที่ให้เลิกยาเสพติดก็เพราะว่าผู้ติดยาเสพติดนิยมใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดยาด้วยกัน ขณะนี้พบว่า ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa