Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » รศ.ประโยชน์ บุญสินสุข

รศ.ประโยชน์ บุญสินสุข

  • กระเป๋านักเรียน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    ใกล้จะเปิดภาคเรียนใหม่แล้ว พ่อแม่ผู้ปกครองทุกท่านคงจะหมกมุ่นอยู่กับการจัดหาเสื้อผ้านักเรียน กระเป๋านักเรียน รองเท้านักเรียน และเครื่องเขียน ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายอื่นๆที่ต้องเสียอีกมากมายตามโรงเรียนต่างๆมักจะออกกฎมากมายรวมทั้งกฎที่กระทรวงศึกษาฯได้กำหนดไว้ และกฎที่โรงเรียนแต่ละแห่งเพิ่มเติมเข้าไป โดยบางครั้งไม่ได้คำนึงถึงสุขภาพของนักเรียน จะมุ่งแต่ความมีระเบียบเรียบร้อย ...
  • ใบหน้าที่เกลี้ยงเกลา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    นักดูลักษณะบนใบหน้า หรือหมอดูโหงวเฮ้งมักจะทักทายผู้ที่มีโหงวเฮ้งดีว่า ใบหน้าอิ่มเอิบ สีหน้าแดงสดใส ดวงตามีแววตา จมูกไม่งุ้มเหมือนเหยี่ยว ปากไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป และปิดได้สนิทเป็นเส้นตรงทั้งหมดที่กล่าวมาแล้ว ถ้าจะบอกว่าเป็นผู้ที่สุขภาพจิตดี ไม่กลุ้มใจ รูม่านตาจะเปิดกว้าง ทำให้แสงผ่านเข้าไปในดวงตาได้มากขึ้น จึงดูมีเสน่ห์กว่ารูม่านตาที่หรี่เล็กในกรณีที่เกิดความเศร้าหมองในใจ ...
  • กระดูกทับเส้นประสาท

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    ใช้วิธีกายภาพบำบัดด้วยตนเอง นวดฝ่าเท้าข้างละ 5-10 นาทีเป็นประจำ และที่สำคัญมากคือใช้วิธียืดตัวให้ตรงถามผมได้อ่านหมอชาวบ้านฉบับที่ 89 เดือนกันยายน 2529 พบจดหมายร้องทุกข์ของคุณคำพวน แข็งรัมย์ อยู่ที่จังหวัดบุรีรัมย์ เกี่ยวกับกระดูกทับเส้นประสาท จึงทำให้ปวดหลัง และหมอที่รพ.บุรีรัมย์แนะนำให้ทำการผ่าตัด แต่คุณคำพวนฯไม่มีเงินเพราะความยากจนนั้นเรื่องโรคกระดูกทับเส้นประสาทเมื่อประมาณเกือบ 10 ปีมาแล้ว ...
  • ออกกำลังกายวันละนิดจิตสดใส( ตอนที่ 2 การออกกำลังกายกลางแจ้ง )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    ออกกำลังกายวันละนิดจิตสดใส( ตอนที่ 2 การออกกำลังกายกลางแจ้ง )การออกกำลังกายในผู้สูงอายุนอกจากต้องการทำให้ระบบต่างๆทำงานดีขึ้นแล้ว ยังมุ่งเน้นถึงการทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่ว ช่วยให้กล้ามเนื้อและเอ็นมีความยืดหยุ่นมากขึ้นดังนั้น ลักษณะของการออกกำลังกายจะเป็นการเคลื่อนไหวของข้อต่อหลายๆข้อต่อพร้อมกัน รวมทั้งอาจมีการเคลื่อนไหวของลำตัวด้วยการออกกำลังกายสามารถทำได้ทุกสถานที่และทุกเวลา ...
  • ออกกำลังวันละนิดจิตสดใส (ตอนที่ 1 )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 86 มิถุนายน 2529
    ออกกำลังวันละนิดจิตสดใส (ตอนที่ 1 )การออกกำลังกายในห้องนอนการออกกำลังในผู้สูงอายุ มีจุดประสงค์เพื่อให้มีการไหลเวียนของเลือด ป้องกันการติดขัดของข้อต่อ และทำให้กล้ามเนื้อมีความพรั่งพร้อมอยู่เสมอเมื่อเกิดอุบัติเหตุ กล้ามเนื้อมีความไวพอที่จะป้องกันการหกล้มหรือการบาดเจ็บของร่างกายการออกกำลังกายในผู้สูงอายุจึงไม่ควรมุ่งไปในด้านการแข่งขัน หรือเพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อให้ใหญ่โต เช่น ในกรณีของการเล่นกล้าม ...
  • การนวดกับการออกกำลังกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 79 พฤศจิกายน 2528
    การนวด กับการออกกำลังกายผู้ที่ชอบดูกีฬาต่างๆ โดยเฉพาะกีฬามวย มักจะสังเกตได้ว่าในแต่ละยก พี่เลี้ยงมักลงมือบีบนวดกล้ามเนื้อของนักมวย โดยเฉพาะตามแขนขาก่อนการชกในยกต่อไป กีฬาอื่นๆ เช่น ฟุตบอล มักจะมีผู้ที่เก่งการนวดประจำอยู่ในทีม ทำหน้าที่บีบนวดนักกีฬาก่อนการแข่งขัน และหลังจากมีการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อในสนามแข่ง บ่อยครั้งที่ตัวเราเองหลังจากเล่นกีฬา หรือออกกำลังกายใหม่ๆ ...
  • การบริหารในระบบหายใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 78 ตุลาคม 2528
    การบริหารในระบบหายใจในบรรดานวนิยาย หรือภาพยนตร์โทรทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกวิทยายุทธนั้น การฝึกควบคุมลมปราณหรืออีกนัยหนึ่งการควบคุมระบบหายใจ ย่อมเป็นแหล่งเกิดแห่งพลังสูงสุดของร่างกายตามตำนานยังกล่าวไว้ว่า การฝึกกำหนดลมปราณ ยังสามารถรักษาอาการปวดเจ็บทั้งภายในและภายนอก ทั้งยังสามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้อย่างมหัศจรรย์เรื่องที่กล่าวมานี้ สร้างความฮือฮามิใช่น้อยต่อผู้ที่ได้รับชมได้ยินมา ...
  • การปรับตัวของระบบไหลเวียน ขณะออกกำลังกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 77 กันยายน 2528
    การปรับตัวของระบบไหลเวียน ขณะออกกำลังกายชีพจรเขาเต้นถึง 200 ครั้ง/นาทีค่าของความดันเลือดวัดได้ 180 มิลลิเมตรปรอทค่าล่างวัดได้ 85 มิลลิเมตรปรอทเสียงหัวใจเต้นดังอย่างกับตีกลองรบเหงื่อออกเต็มหน้าผากอุณหภูมิกายสูงขึ้นเล็กน้อยหายใจ 40 ...
  • การควบคุมการเคลื่อนไหว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    การควบคุมการเคลื่อนไหวนักกีฬาที่เกิดอุบัติเหตุในการเล่นกีฬา จนกระดูกหักและต้องได้รับการผ่าตัดหรือเข้าเฝือก มักพบว่า หลังจากผ่าตัดใหม่ๆ หรือเข้าเฝือกแล้ว อาจเคลื่อนไหวส่วนนั้นไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวด้วยความลำบาก ทั้งๆ ที่กระดูกก็ต่อกันดีแล้ว กล้ามเนื้อไม่ได้สูญเสียไป และข้อต่อก็ไม่ได้ติดขัดเลยบางครั้งอาจพบว่า ความรู้สึกบนผิวหนังก็เสียไปด้วย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากอาจมีเส้นประสาทเล็กๆ ...
  • การเคลื่อนไหวของข้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 กรกฎาคม 2528
    การเคลื่อนไหวของข้อครั้งที่แล้วได้กล่าวถึงความหมายของข้อต่อ และการเคลื่อนไหวของข้อต่อต่างๆ เช่น ข้อไหล่ ข้อศอก ต่อไปนี้จะว่าถึงข้อต่ออื่นๆ ต่อไปข้อมือเป็นข้อที่เคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง คือ งอและเหยียด เอียงเข้าและเอียงออก และหมุนเป็นวงกลมการหวายมือและคว่ำมือ เป็นข้อต่อที่บริเวณข้อมือ ข้อศอก และระหว่างกระดูกแขนด้านนอกและด้านในข้อมือ เป็นข้อที่บาดเจ็บได้ง่ายในกีฬาที่ต้องใช้มือจับไม้ตี เช่น ปิงปอง ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa