-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
121
พฤษภาคม 2541
การทดลองใช้ยาสมุนไพรรักษาไวรัสตับอักเสบพืชสมุนไพรหลายชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ดีเอ็นเอของไวรัสชนิดนี้ และสารสกัดของมะขามป้อมดิน แพทย์ชาวอเมริกันและอินเดียได้ร่วมกันทำการทดลองพบว่า ยาสมุนไพรที่ใช้สืบต่อกันมามากกว่า 2,000 ปี สามารถรักษาโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี ได้ผลดีการทดลองนี้เป็นความร่วมมือระหว่างคณะแพทย์จากสถาบันวิจัยมะเร็งแห่งฟิลาเดลเฟีย สหรัฐอเมริกา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
131
มีนาคม 2533
ปฏิชีวนะสารของมด ช่วยรักษาโรคติดเชื้อราในคนพบว่า สารที่มดขับออกมามีฤทธิ์เป็นปฏิชีวนะสารเรียกว่า เมตาพูลริน (metapleurin) ซึ่งมดใช้ในการป้องกันการติดเชื้อราและแบคทีเรีย สารนี้มีคุณสมบัติเป็นไขมัน ซึ่งแตกต่างจากยาปฏิชีวนะอื่นๆ อย่างสิ้นเชิงนักชีววิทยาชาวออสเตรเลียได้ค้นพบว่า มดผลิตปฏิชีวนะสารเพื่อการควบคุมโรคในบริเวณที่อยู่อาศัย จากการทดลองของโรงพยาบาลแห่งนครซิดนีย์ได้พบว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
128
ธันวาคม 2532
ไวรัสอาจเป็นสาเหตุของมะเร็ง ภายหลังการปลูกถ่ายอวัยวะจากการศึกษาติดตามผลการรักษาในผู้ป่วยที่ผ่าตัดเปลี่ยนไต ทั้งอาการทางคลินิก ได้มีข้อบ่งชี้ว่า เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคหูดในคน คือ ไวรัสแพ็ปพิลโลม่า เป็นตัวการก่อมะเร็งภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะคณะผู้วิจัยจากสก็อตแลนด์แนะนำว่า ควรจะต้องมีการตรวจสอบผิวหนังของผู้ป่วยที่กำลังจะผ่าตัดเปลี่ยนไตให้ดีทั้งก่อนและหลังผ่าตัดว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
126
ตุลาคม 2532
การรักษามะเร็งปากมดลูกด้วยยาสูตรผสมการทดลองในผู้ป่วยสตรี 49 ราย มีอายุเฉลี่ย 38 ปี เป็นมะเร็งในระยะที่ลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆของร่างกายแล้ว ผลปรากฏว่า ผู้ป่วย 34 ราย มีอาการกระเตื้องขึ้น 10 รายสามารถมีอายุต่อไปได้อีกมากกว่า 1 ปี 5 ราย มีอายุต่อไปได้อีกมากกว่า 2 ปี บรรดาแพทย์ในเบอร์มิงแฮมต่างก็มีความหวังว่า ได้มีความก้าวหน้าในการรักษามะเร็งปากมดลูกในสตรี ภายหลังการทดลองรักษาด้วยยาสูตร 3 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
124
สิงหาคม 2532
ยารักษามะเร็งที่สมองชนิดฝังวิธีการฝังยารักษามะเร็งนี้มีประสิทธิภาพสูง เพราะว่ายาจะถูกปลดปล่อยออกมาในบริเวณที่มีความสำคัญ ทำให้เซลล์ทุกเซลล์บริเวณที่เป็นโรคได้รับตัวยาอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะเป็นไปไม่ได้โดยการให้ยาทางหลอดเลือดดำแบบเดิมได้มีการทดลองใช้ยารักษามะเร็งบรรจุในหลอดพลาสติกที่สลายตัวได้สำหรับการรักษามะเร็งที่สมอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
122
มิถุนายน 2532
พบอันตรายจากแป้งที่ถุงมือผ่าตัดเพิ่มสูงขึ้นมีรายงานเกี่ยวกับตุ่มเล็กๆ เนื่องจากแป้งเกิดขึ้นภายหลังการทำศัลยกรรมกระดูก ช่องอก ตา หู คอ และจมูก ปัจจุบันมีคดีฟ้องร้องแพทย์ในกรณีเหล่านี้จำนวน 15 ราย ในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับความทุกข์ทรมานจากอาการแทรกซ้อน อันเนื่องมาจากแป้งที่โรยในถุงมือยางจะเพิ่มมากขึ้นทุกที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
113
กันยายน 2531
มีการค้นพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับวิตามินซีต่ำ จะทำให้มีอาการรุนแรงขึ้น รวมทั้งมีอาการอื่นแทรกซ้อน เช่น อาการหัวใจล้มเหลว, ไตวาย ตาบอด และแผลเปื่อยในการศึกษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน 60 ราย ที่โรงพยาบาลรอยัล ปรินซ์ อัลเฟรต นครซิดนีย์ ออสเตรเลีย พบว่าผู้ป่วยเหล่านี้มีระดับวิตามินซีต่ำกว่าคนปกติร้อยละ 50-80 แพทย์จากมหาวิทยาลัยซิดนีย์ สรุปว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการรุนแรงมากเท่าใด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
111
กรกฎาคม 2531
ผลการทดลองในเด็กอายุ 6-21 ปี ในเขตระบาดของเชื้อไทฟอยด์ในซิลีพบว่า จากการให้กินวัคซีนที่ทำจากเชื้อซัลโมเนลลาไทฟี ที่ถูกทำให้ลดความรุนแรงลง 3 ครั้ง สามารถป้องกันโรคได้นานอย่างน้อย 3 ปีความพยายามที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคไทฟอยด์ได้พัฒนาไปอีกชั้นหนึ่งแล้ว เมื่อได้มีการผลิตวัคซีนชนิดกิน (enterie-coated capsule) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
111
กรกฎาคม 2531
ผลการทดลองทางคลินิก โดยให้แอลฟา-อินเตอฟีรอนเปรียบเทียบกับยาหลอกในเด็ก ปรากฏว่าภายใน 18 เดือนหลังจากได้รับยา เด็กทั้งสองกลุ่มยังคงเป็นพาหะของเชื้อไวรัสตับอักเสบเหมือนกันผลการศึกษาของแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยควีน แมรี ฮ่องกง ได้รายงานว่าแอลฟา-อินเตอร์ฟีรอนไม่มีผลต่อไวรัสตับอักเสบชนิดบี โดยคณะผู้วัยได้ทำการทดลองคลินิก โดยให้แอลฟา-อินเตอร์ฟีรอนเปรียบเทียบกับ “ยาหลอก” (placebo) ในเด็ก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
108
เมษายน 2531
มีความสัมพันธ์กับอาการป่วยคล้ายๆกับอหิวาตกโรค และสามารถแยกเชื้อได้จากผู้ป่วยโรคท้องร่วงในบังคลาเทศ ผู้ที่ได้รับเชื้อนี้จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เป็นตะคริวที่ท้อง มีไข้และปวดศีรษะจากการศึกษาของนักวิชาการต่างๆ เมื่อเร็วๆนี้ได้ค้นพบเชื้อวิบริโอกลุ่มใหม่ ซึ่งมีคุณสมบัติทางพันธุกรรมและชีวเคมีแตกต่างจากเชื้อวิบริโอที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว จึงให้ชื่อว่า Vibrio mimicus ...