Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » วิทิต วัณนาวิบูล

วิทิต วัณนาวิบูล

  • ลักษณะทั่วไปของเล็บ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2538
    ลักษณะทั่วไปของเล็บคนทั่วๆไปเล็บที่งอกจากโคนเล็บถึงขอบเล็บด้านปลายนิ้วใช้เวลา1 เดือนครึ่งถึง 3 เดือน ความช้าเร็วนี้ขึ้นอยู่กับอายุ สภาพความแข็งแรงของร่างกาย และภูมิอากาศเป็นสำคัญ ตัวอย่างเช่น การงอกของเล็บของเด็กจะเร็วกว่าคนชรา 2-4 เท่า การดูเล็บจะแม่นยำถูกต้องนั้น ต้องระวังอย่าใช้เครื่องสำอางใดๆทาลงบนผิวเล็บ เนื่องจากเล็บมีการเจริญเติบโต(งอก)อยู่ตลอดเวลา ...
  • เล็บบอกโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    เล็บบอกโรค เล็บนิ้วมีหน้าที่ป้องกันนิ้วมือ ไม่ให้ได้รับการกระทบกระทั่งจากการกระทำภายนอก นอกจากประโยชน์ดังกล่าว ในชีวิตประจำวันเล็บยังมีประโยชน์อีกมากมาย เช่น ขีดข่วน เกาเวลาคัน หยิบของเล็กๆ ดึงหนามออกเวลาหนามตำ เป็นต้นในชีวิตประจำวันเราให้ความสนใจเล็บอยู่เสมอ โดยเฉพาะผู้หญิงจะสนใจเล็บในแง่ความสวยงาม มีการใช้ยาทาเล็บสีต่างๆ เพื่อให้ดูสวยงาม ...
  • พยากรณ์ร่างกายได้จากนิ้ว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    พยากรณ์ร่างกายได้จากนิ้วดังที่เคยได้กล่าวแล้วว่าร่างกายของมนุษย์เป็นองค์รวมที่เป็นหนึ่งเดียวกัน เมื่ออวัยวะหนึ่งอวัยวะใดเกิดโรค ก็จะส่งผลกระทบต่อร่างกายทั้งระบบ ด้วยเหตุนี้การดูลักษณะของนิ้วมือจึงสามารถบอกความแข็งแรงของอวัยวะได้1. หัวแม่มือ นิ้วมือทั้ง 5 นั้น นิ้วหัวแม่มือทางการแพทย์จีนถือว่าเป็นนิ้วที่สำคัญที่สุด ...
  • ลักษณะของนิ้วมือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ลักษณะของนิ้วมือการแพทย์จีนเชื่อว่าความแข็งแรงของพลังม้าม(ในทัศนะของแพทย์จีน) มีผลกระทบต่อสมรรถนะของมือโดยตรง นอกจากนี้นิ้วทั้งห้ายังสามารถสะท้อนสภาพความแข็งแรงของร่างกายตามขั้นตอนของวัยที่แตกต่างกัน คือ (ตารางที่ 1)การดูลักษณะของนิ้วนั้นที่สำคัญคือ ดูความสั้นยาว ความตรง ความคด ความอ่อน ความแข็ง สีของนิ้วมือ เป็นต้น ลักษณะต่างๆ ...
  • ลายมือบอกโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    ลายมือบอกโรคลายเส้นบนฝ่ามือของมนุษย์นั้น เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของมนุษย์มาโดยตลอดตั้งแต่อดีตกาลจวบจนปัจจุบันนี้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์คือเครื่องปั้นดินเผายุคสังคมบุพกาลที่ขุดพบที่หมู่บ้านป้านพอ มณฑลซีอาน ซึ่งมีอายุกว่า 6,000 ปีมาแล้ว เครื่องปั้นดินเผาเหล่านั้นมีรอยพิมพ์นิ้วมือปรากฏให้เห็น นับเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เกี่ยวข้องกับเส้นลายมือที่เก่าแก่ที่สุดของโลก นอกจากนี้เมื่อประมาณ ...
  • ลิ้นคือหน้าต่างของร่างกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ลิ้นคือหน้าต่างของร่างกายการเกิดและดำเนินของโรคนั้นเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน การดูลิ้นเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้เราเข้าใจการดำเนินและการเปลี่ยนแปลงของโรคได้ หลักการสำคัญในการดูลิ้นนั้น กล่าวโดยรวมๆแล้วก็คือ การดูตัวลิ้นและฝ้าบนลิ้น โดยทั่วไปแล้วการดูลักษณะของลิ้นจะทำให้เราเข้าใจสภาพร่างกายของผู้ป่วย และความรุนแรงของโรค ...
  • ลิ้นทางคลินิก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    ลิ้นทางคลินิกการดูลิ้นเป็นวิธีการในการวินิจฉัยโรควิธีหนึ่งของแพทย์จีน การดูลิ้นนั้นจะต้องดูที่ตัวลิ้น (สีของลิ้น รูปร่างลักษณะของตัวลิ้น) และฝ้าบนลิ้น (สีของฝ้าบนลิ้น)ทฤษฎีการแพทย์จีนนั้นเชื่อว่า อวัยวะต่างๆของร่างกายเป็นองค์รวมที่ตรงกันข้าม และเป็นเอกภาพกัน ...
  • ภาพจำลองย่อส่วนของร่างกายมนุษย์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ภาพจำลองย่อส่วนของร่างกายมนุษย์ ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึง “ลิ้นบอกโรค” และได้กล่าวถึงทฤษฎีการแพทย์จีนที่กล่าวถึงเส้นลมปราณ ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน ...
  • เส้นลมปราณ : ลิ้นบอกโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    เส้นลมปราณ : ลิ้นบอกโรคการแพทย์จีนได้อธิบายไว้ว่า อวัยวะต่างๆภายในร่างกายและนอกร่างกายนั้นมีเส้นลมปราณ (จีนเรียกว่า จิงลั่ว) ซึ่งเป็นทางเดินของเลือดและพลังเส้นลมปราณนั้นทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน และยังเชื่อมอวัยวะภายในและภายนอกเข้าด้วยกันอีกด้วย เป็นระบบที่เชื่อมโยงติดต่อสัมพันธ์กันทั้งระบบด้วยเหตุนี้ เมื่ออวัยวะภายในผิดปกติ ก็จะส่งผลกระทบกระเทือนถึงอวัยวะภายในอื่นๆ ...
  • หัวทัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    หัวทัวหัวทัว (ในสามก๊กเรียก ฮูโต๋) มีชื่อจริงว่า เยวียนหัว เป็นชาวเฉียวเมืองไพ่ (ปัจจุบัน คือ อำเภอป้อ ในมณฑลอานฮุย) เกิดในระหว่างปี พ.ศ.684-746 (ค.ศ.141-203) ในสมัยสามก๊กหัวทัวเคยศึกษาในเมืองซวี่โจว เขาเป็นผู้ที่สนใจวิชาแพทย์มาก ได้พยายามเสาะหาตำราทางการแพทย์จำนวนมากมาอ่าน อำมาตย์แห่งเมืองไพ่ และหวงหว่าน ได้เคยเสนอตำแหน่งราชการให้เขาหลายครั้ง แต่เขาปฏิเสธ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa