Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » รศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์

รศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์

  • ปัสสาวะทำมาจากไหน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    ปัสสาวะทำมาจากไหนปัสสาวะคือน้ำเสียที่ร่างกายต้องการขจัดออกมาจากไต คนเรามีไต2 ข้าง วางอยู่ทางด้านหลังของช่องท้อง ข้างๆกระดูกสันหลัง มีซี่โครงซี่ล่างๆโอบล้อมอยู่ ไตแต่ละข้างยาวประมาณ 1o เซนติเมตร หนักประมาณ 14o กรัม มีรูปร่างคล้ายเม็ดถั่วที่มีส่วนโค้งข้างหนึ่งและส่วนเว้าข้างหนึ่ง ...
  • เมลาโทนิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    เมลาโทนินวันนี้ขอเล่าเรื่องฮอร์โมนชื่อเมลาโทนิน ซึ่งกำลังฮิต และหลายคนถามถึง เพราะมีการโฆษณาว่าเป็นยาวิเศษที่คล้ายยาอายุวัฒนะ กล่าวคือรักษาสภาพความเป็นหนุ่มเป็นสาวให้อยู่ได้นาน มีอายุยืน นอนหลับง่าย ลดความดันเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกันนี่เป็นเพียงตัวอย่างน้อยนิดเกี่ยวกับสรรพคุณของเมลาโทนิน ซึ่งยังมีอีกมากมาย ...
  • พิษงูรักษาโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    พิษงูรักษาโรคหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ประจำวันที่12 กุมภาพันธ์2539 ลงบทความเกี่ยวกับสุขภาพ เขียนโดย ทอม เวลลส์ เล่าเรื่องนายบิล เฮสต์ อายุ85 ปีที่ปรากฏในรูปนั่นแหละครับกับงูของแก ความจริงผมเกือบจะเขียนว่า “เฒ่าเฮสต์” แต่พอเห็นรูปแกซึ่งก็ถ่ายตอนแกอายุ85 ปี แล้วเรียกไม่ออก เพราะแกดูหนุ่มกว่าผมเสียอีกตาเฮสต์แกชอบงูมาตั้งแต่เด็ก พออายุ7 ขวบก็เก็บงูมาเลี้ยง ...
  • มะเร็งของผู้ชาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 206 มีนาคม 2539
    มะเร็งของผู้ชายในผู้หญิงมะเร็งของเต้านมน่าจะสำคัญที่สุดเพราะพบได้บ่อย ถ้าพบแล้วรักษาแต่เริ่มแรกโอกาสจะหายขาดมีมาก ในผู้ชายแม้มะเร็งของต่อมลูกหมากจะไม่ใช่มะเร็งที่พบบ่อยที่สุด แต่ก็เป็นมะเร็งที่เป็นได้เฉพาะในเพศชาย เพราะผู้หญิงไม่มีต่อมลูกหมาก ส่วนมะเร็งของเต้านมนั้นผู้ชายก็เป็นได้ แม้จะไม่มีเต้านมแต่ก็มีหัวนม ...
  • ไวรัส เจ้าวายร้ายพริกขี้หนู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 202 กุมภาพันธ์ 2539
    ไวรัส เจ้าวายร้ายพริกขี้หนู บนเส้นทางค้นพบจุลชีพก่อนเลเวนฮุกจะประดิษฐ์เลนส์ขยายและพัฒนาเป็นกล้องจุลทรรศน์นั้นเราไม่รู้เลยว่ามีสิ่งที่มีชีวิตตัวเล็ก ๆ ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า นั่นมันกว่า 300 ปีมาแล้วตอนผมเป็นตอนเด็กและผมเรียนถึงชั้นมัธยมตอนต้นแล้ว ผมก็ไม่เคยรู้ว่าสิ่งมีชีวิตตัวเล็ก ๆ ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าในโลกนี้ ผู้ใหญ่ใกล้ชิดก็ไม่มีใครพูดถึง ผู้ใหญ่ใกล้ชิดก็ไม่มีใครพูดถึง ...
  • เกิดอะไรกับอากาศที่เราหายใจเข้าไป

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 202 กุมภาพันธ์ 2539
    เกิดอะไรกับอากาศที่เราหายใจเข้าไป ถ้าคลำดูตรงด้านหน้าของคอจะพบลักษณะคล้ายท่อ อันนั้นเป็นหลอดลมที่นำอากาศจากปากและจมูกเข้าไปในปอด ตรงกลางอาจมีปุ่มนูนขึ้นมาในบางคน ที่เรียกว่าลูกกระเดือก ภายในลูกกระเดือกคือกล่องเสียง ...
  • แอลกอฮอล์ กับโรคหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    แอลกอฮอล์ กับโรคหัวใจพักนี้มีเรื่องแอลกอฮอล์กับโรคหัวใจปรากฏในวารสารทั้งรายวันและรายปักษ์บ่อยครั้ง ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดยมีข้อความเป็นเชิงให้เข้าใจว่าแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะในรูปของเหล้าองุ่นในปริมาณที่พอเหมาะจะช่วยป้องกันโรคหัวใจได้บทความเหล่านี้มีความจริงอยู่บ้าง แต่ไม่ตลอด กล่าวคือ ผู้เขียนมักไม่บอกทุกแง่ทุกมุมของแอลกอ-ฮอล์ ผมคิดจะรวบรวมมาเล่าให้ฟังอย่างไม่เป็นวิชาการนัก ...
  • กัญชา มีอะไรมากกว่ายาเสพติด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    กัญชา มีอะไรมากกว่ายาเสพติด เมื่อผมเด็กๆผมจำได้ว่าที่บ้านผมซึ่งเป็นร้านขายของเบ็ดเตล็ดอยู่ที่ตำบลบ้านเหนือ จังหวัดกาญจนบุรีนั้นมีกัญชาขายด้วย ดูเหมือนจะเป็นมัดเล็ก ๆ ใส่อยู่ในปีบ มัดละ 2-3 สตางค์ มีคนมาซื้อบ้างนาน ๆ ครั้งพ่อบอกว่าตาล้วนซึ่งมีนิวาสสถานอยู่หลังบ้านแกสูบกัญชา แกเป็นคนขี้ขโมย ขโมยดะตั้งแต่ของเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนปลาที่พ่อผมไปลงแหลงอวนไว้ที่แม่น้ำ ...
  • ผ่าตัดไส้เลื่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    ทำไมจึงใช้เยื่อสมองในการผ่าตัดไส้เลื่อน ข่าวบอกว่า 2-3 รายที่ผ่าไปแล้วนั้นได้ผลดี อยากทราบว่าเมื่อผ่าตัดแล้วจะเป็นอีกไหมถามผมมีปัญหาเรียนถามดังนี้ในภาคข่าว 2 ทุ่มได้ยินเกี่ยวกับการใช้เยื่อสมองในการผ่าตัดไส้เลื่อน โดยแพทย์ศิริราชทำให้ข้องใจว่าในการผ่าตัดไส้เลื่อน โดยแพทย์ศิริราชทำให้ข้องใจว่าในการผ่าไส้เลื่อน เมื่อก่อนมีผลเสียอะไร จึงต้องใช้เยื่อสมองทดลองผ่าตัดกับคนไข้ไป 2-3 รายแล้วได้ผลดี ...
  • เยี่ยมสมาคมรถพยาบาลเซนต์จอห์น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    อุบัติภัยเป็นสาเหตุการตาย 1 ใน 3 อันดับแรกของไทยในปัจจุบัน และเป็น 1 ใน 10 อันดับแรกของสาเหตุการตายของชาวออสเตรเลีย การป้องกันหรือลดการเกิดอุบัติภัย จำเป็นต้องใช้มาตรการหรือกลวิธีหลายประการ เช่น การออกกฎหมายควบคุมการจราจร การออกกฎหมายเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับในการใช้รถใช้ถนน และอื่นๆ เป็นต้น แม้จะได้เพียรพยายามอย่างดีที่สุด ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa