-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
283
พฤศจิกายน 2545
เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (ตอนจบ)ระบบบริการสุขภาพตราบเท่าที่ยังมีคนป่วยเจ็บ ระบบบริการสุขภาพ ย่อมมีความจำเป็นและคงต้องปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ระบบบริการสุขภาพในวันนี้เป็นมรดกของ ยุคโรคติดต่อ เป็นระบบบริการสุขภาพแบบตั้งรับเน้นการซ่อมสุขภาพ ถนัดในการใช้เทคโนโลยี ถนัด ในการตัดสินใจแทนคนไข้ และถนัดในการดูแลปัญหา เฉียบพลันมากกว่าปัญหาเรื้อรัง ครึ่งหนึ่งของคนไทย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
282
ตุลาคม 2545
เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (๒)พฤติกรรมเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดความรู้จากประเทศอุตสาหกรรมยืนยันตรงกันว่าพฤติกรรมเสี่ยงเป็นเหตุสำคัญของการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดส่วนใหญ่พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญมาก ๓ ประการได้แก่๑.การสูบบุหรี่ ผู้ชายไทยทุกวันนี้เกือบครึ่งหนึ่งสูบบุหรี่ ในขณะที่ผู้หญิงเพียงร้อยละ ๓ เท่านั้นที่สูบ แนวโน้มของพฤติกรรมสูบบุหรี่ในคนไทยมีทิศ ทางลดลงอย่างต่อเนื่อง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
281
กันยายน 2545
เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (๑)"ด้วยความรู้ในปัจจุบัน เราสามารถสร้างโลกที่ปราศจากการคุกคามจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในโลกเช่นนั้นการป้องกันเกิดขึ้นนับแต่วันแรกเริ่มของชีวิตทุกคนจะมีชีวิตที่เปี่ยมด้วยสุขภาพ ได้หายใจอากาศที่ปลอดควันบุหรี่ได้กินอาหารที่ถูกหลักอนามัย หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอได้อาศัยและทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
226
กุมภาพันธ์ 2541
ลำไส้เรามีขนาดใหญ่แค่ไหนเนื่องจากร่างกายต้องการพื้นที่พื้นผิวของลำไส้สำหรับการดูดซึมสารอาหาร ร่างกายจึงต้องแปลงสนามเทนนิสทั้งสนามมาไว้ในลำไส้ พื้นผิวของลำไส้มีมากกว่าพื้นผิวของร่างกายภายนอกถึง ๒๐๐ เท่าทางเดินอาหารในร่างกายผู้ใหญ่มีความยาวประมาณ ๙ เมตร ส่วนที่ยาวที่สุดได้แก่ลำไส้เล็ก ซึ่งมีความยามประมาณ ๗.๕ เมตร ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ ๑.๕ เมตร ลำไส้ใหญ่มีขนาดโตกว่าลำไส้เล็ก กล่าวคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
213
มกราคม 2540
ร่างกายของเราเต็มไปด้วยเส้นประสาทใช่ไหม ?สมองและไขสันหลังประกอบด้วยเซลล์ประสาทเกือบจะล้วนๆ เราเรียกรวมกันว่า ระบบประสาทส่วนกลาง เส้นประสาทที่ออกจากสมองและไขสันหลัง เราเรียกว่าระบบประสาทส่วนปลายเส้นประสาทที่ออกจากสมองเราเรียกว่า ประสาทสมอง (cranial nerve) มีความสำคัญต่อชีวิตมาก ประกอบด้วยประสาทตา ประสาทจมูก ประสาทหู เป็นต้นเส้นประสาทของร่างกายแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ2 ประเภทคือ 1. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
212
ธันวาคม 2539
เส้นประสาทคืออะไร เส้นประสาทเปรียบเทียบได้กับระบบสายไฟฟ้าหรือโทรศัพท์ ที่ประกอบด้วยใยประสาทเส้นเล็กๆ รวมกันเป็นมัดใหญ่ ออกจากสมองไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย ทำให้มีการติดต่อกันได้เส้นประสาทประกอบด้วยเซลล์ประสาทหลายเซลล์ ซึ่งเรียกตามภาษาวิทยาศาสตร์ว่า นิวโรน (neuron) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
211
พฤศจิกายน 2539
มันสมองของเรามีรูปร่างอย่างไรถ้าเราสามารถมองผ่านเข้าไปในกะโหลกศีรษะ เพื่อดูมันสมองของเราได้ จะพบว่ามีลักษณะคล้ายเมล็ดวอลนัต(walnut)สีเทา มีหลอดเลือดสีแดงคลุมอยู่ทั่วไปเปลือกภายนอกของสมองจะมีรอยย่นอยู่ทั่วไป สมองส่วนนี้เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) ส่วนนี้เป็นส่วนสั่งงานและส่วนรับความรู้สึกของสมอง จะคลุมส่วนอื่นทั้งหมดคล้ายหลังคา ตรงกลางมีร่อง ซึ่งแบ่งสมองส่วนนี้ออกเป็น2 ซีก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
210
ตุลาคม 2539
ปัสสาวะ : ยารักษาโรคเมื่อต้นปีนี้มีนักวิทยาศาสตร์และแพทย์หลายร้อยคนทั่วโลกไปประชุมกันที่เมืองหลวงของรัฐโกอา (Goa) ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดียเรื่องการใช้ปัสสาวะรักษาโรค ผู้จัดการประชุมอ้างว่าปัสสาวะสามารถรักษาโรคร้ายแรงที่คร่าชีวิตมนุษย์ได้หลายอย่าง รวมทั้งโรคเอดส์ด้วยการประชุมจัดโดยมูลนิธิวารีแห่งชีวิต (Water of Life Foundation) มีผู้สนใจในการใช้ปัสสาวะรักษาโรค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
210
ตุลาคม 2539
เราได้ยินเสียงได้อย่างไร หูนั้นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้รับเสียง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
209
กันยายน 2539
ทำไมเราต้องหายใจเราหายใจเอาอากาศเข้าไปในปอด หรือถ้าจะพูดให้แคบเข้าก็คือ เอาออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงร่างกายนั่นเอง อวัยวะทุกส่วนของร่างกายต้องการออกซิเจนเพื่อเป็นพลังงานและต้องการติดต่อกันตลอดเวลาถ้าร่างกายขาดออกซิเจน แม้ช่วงระยะเวลาไม่นานนักก็จะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ ออกซิเจนจะถูกนำไปสู่เซลล์ของร่างกายโดยเลือด เซลล์จะใช้ออกซิเจนเพื่อการดำรงชีวิตการเผาไหม้ภายในเซลล์จะเกิดในอุณหภูมิปกติ ...