Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล

ศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • แสงหิ่งห้อยในแดนสนธยา

    วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    ในโลกนี้มีแนวคิดสองค่ายเกี่ยวกับชนิดแพทย์ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ค่ายแองโกล-อเมริกัน เชื่อว่า แพทย์เฉพาะทางด้านการแพทย์ฉุกเฉิน (บ้านเราเรียกว่า แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน) เป็นวิชาชีพที่จำเป็น จึงมีการผลิตต่อยอดจากระดับปริญญาเหมือนแพทย์เฉพาะทางด้านอื่น. ประเทศไทยเพิ่งนำแนวคิดนี้มาใช้และผลิตแพทย์สาขานี้แล้วเกือบ 200 รายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ...
  • ตะกร้าความคิด อันหลากหลายงดงาม

    วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    24 เมษายน 2552 นับเป็นวันดีเดย์ของข่าว "หวัดหมู" ด้วยเวลาเพียงไม่ถึงสองสัปดาห์ ข่าวนี้ไม่เพียงเรียกความสนใจ หากยังสร้างความปั่นป่วนต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของสังคมทั่วโลก. แรงกระเพื่อมของคลื่นข่าวดังกล่าว แสดงให้เห็นศักดิ์ศรี และความน่าเชื่อถือขององค์การอนามัยโลก ต่อรัฐบาลและสื่อมวลชนทั่วโลก ในด้านหนึ่ง นี่คือ เรื่องดีที่ประชาคมโลก มีที่พึ่งทางความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอย่างหายห่วง ...
  • เครือข่ายกับ"จุดคานงัด"

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ภาวะสมองไหลอาจเป็นที่มาของการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง ซึ่งชัดเจนว่า ช่วยคลี่คลายปัญหานี้และมีผลสืบเนื่องมาจนปัจจุบัน.วันนี้จำนวนแพทย์เฉพาะทางมากกว่าแพทย์ทั่วไปเกือบ 4 เท่า แนวโน้มนี้อาจเปลี่ยนแปลง เมื่อเริ่มมีสัญญาณบ่งชี้ว่า แพทย์ใช้ทุนสละที่นั่งในการเข้าฝึกอบรมอายุรศาสตร์ หันไปทำงานต่อในโรงพยาบาลชุมชน เมื่อค่าตอบแทนแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนเพิ่มขึ้นทันตาเห็นและก้าวกระโดด ...
  • ทางสายรุ้งจากหล่มถึงภู (ตอนที่ 1)

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    ยกเว้นโรงพยาบาลและคลินิกเอกชน โรงพยาบาลของรัฐและสถานีอนามัยทั้งหลายที่ประชาชนได้อาศัยพึ่งพาในวันนี้ ล้วนเป็นผลงานการพัฒนาจากบนลงล่างนั่นคือ กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานอื่นในส่วนกลางคิดกำหนดและลงมือให้เกิดทั้งสิ้น.เช่นเดียวกัน การจัดสรรเงิน จัดสรรเครื่องมืออุปกรณ์สนับสนุนบริการ และการจัดสรรคน ได้แก่ แพทย์ พยาบาลและสายงานอื่นๆ ตลอดจนถึงผสส./อสม. ...
  • Hospital OS กุญแจปลดปล่อยพลังซ่อนเร้น

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ยากับการแพทย์เป็นของคู่กันมานาน ในประเทศสหรัฐอเมริกา เคยมีรายงานใน  JAMA ว่าผู้ป่วยเสียชีวิตในปีหนึ่ง 106,000 ราย เพราะการจ่ายยาผิดประเภทหรือเกิดพิษจากยา ความผิดพลาดที่รุนแรงนี้ แท้จริงเป็นเรื่องป้องกันได้.ความแออัดของโรงพยาบาลโดยเฉพาะผู้ป่วยนอก เป็นภาพที่เห็นได้ในโรงพยาบาลทั่วไปทุกภาคของประเทศ สร้างความลำบากทั้งกับผู้ป่วย ญาติและบุคลากร เป็นเงื่อนไขบั่นทอนคุณภาพบริการอย่าง น่าเสียดาย ...
  • เมาไม่ขับจากวันวานถึงวันนี้

    วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    6 ปีที่ผ่านมา การรณรงค์เมาไม่ขับได้ปลุกกระแสความตื่นตัวต่อปัญหาอุบัติเหตุอันเนื่องจากการดื่มสุรา แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานสนับสนุนว่า การรณรงค์เมาไม่ขับสามารถลดความสูญเสียจากปัญหานี้ได้ชัดเจน หากอาศัยระดับแอลกอฮอลในผู้ขับขี่ที่บาดเจ็บเข้าห้องฉุกเฉิน (ไม่ใช่อาศัยจมูกหรือประสาทสัมผัสอื่นๆของบุคลากรในห้องฉุกเฉิน เพื่อแยกแยะว่าดื่มหรือไม่ดื่ม อย่างที่มักอ้างกันในรายงานของหน่วยงานต่างๆ) ...
  • บริการรถโดยสารที่สมศักดิ์ศรีแห่งความเป็นคน

    วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    รายงานข่าวรถขนเด็กไปโรงเรียนถูกชนจนนักเรียนบาดเจ็บและเสียชีวิตเกลื่อนถนน 2 วัน ติดกัน ชวนให้เกิดคำถามว่า หลักประกันความปลอดภัยทางถนนอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของพวกเขามีอยู่จริงหรือ. ผู้เขียนขอตั้งประเด็นเพื่อให้สังคมช่วยกันพิจารณาว่าจะจัดหลักประกันความปลอดภัยทางถนน แก่เด็กวัยเรียนได้อย่างไรประการแรก ขอให้พิจารณาที่ตัวคนขับ ถ้าผู้โดยสารจะปลอดภัย เราต้องการคนขับรถโดยสารคุณภาพ หมายถึง ...
  • การบริการสุขภาพที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง

    วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    Michael E. Porter และ Elizabeth Olmsted Teisberg ร่วมกันแต่งหนังสือ ชื่อ Redefining  Health Care : Creating Value-Based Competition on Results. ในหนังสือนี้ Porter และ Teisberg วินิจฉัยว่า ระบบบริการสุขภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งแพง และด้อยคุณภาพ เพราะเป็นระบบส่งเสริมคนที่เก่งในการผลักภาระค่าใช้จ่ายให้คนอื่น และลดทอนปริมาณการบริการ. ทั้ง 2 จึงเสนอว่า ...
  • สุขภาพ คือ ก้าวแรกแห่งการบรรลุนิพพาน

    วารสารคลินิก 254 กุมภาพันธ์ 2549
    ความสุข เป็นเรื่องที่คิดกันมานาน จึงมีแนวความคิดที่หลากหลาย บ้างเห็นว่าสุขภาพกับความสุขเป็นเรื่องเดียวกัน ไม่ว่าจะอย่างไร ความสุขนับเป็นสิ่งสุดยอดปรารถนาของคนทุกคน.ในทางพุทธ ผู้รู้อย่างพระอาจารย์ครรชิต คุณวโร อธิบายว่า มีการจำแนกความสุขเป็น 6 ระดับจากหยาบไปหาละเอียด ได้แก่ ...
  • ร้อยปีแห่งการค้นพบอันยิ่งใหญ่ของโรเบิร์ต โค้ก

    วารสารคลินิก 253 มกราคม 2549
    นิตยสารนิวอิงแลนด์เจอนัลออฟเมดดิซีนตีพิมพ์เรื่องราวการค้นคว้าของโรเบิร์ต โค้ก (Robert Koch) ผู้ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งจุลชีววิทยา. บทความนี้อาจถือเป็นการเฉลิมฉลองวาระครบ 100 ปีที่ท่านโค้กได้รับรางวัลโนเบิลสาขาการแพทย์หรือสรีรวิทยา.เมื่อคำนึงถึงผลงานของโค้ก ผู้อ่านบทความนี้ก็คงคล้อยตามผู้เขียนว่าท่านเป็นนักสืบตัวยงแห่งวงการแพทย์และสาธารณสุข ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa