Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ » โยคะ

โยคะ

  • วิถีชีวิตแห่งโยคะยามเช้า (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    ฉบับที่ผ่านมา เราได้คุยกันไปว่าก่อนจะเริ่มเดินบนวิถีแห่งโยคะ วิถีสู่ความสมดุลของสุขภาพ จะต้องทบทวนองค์ประกอบ 4 ประการ 1. เป้าหมายสูงสุดที่เราจะไปให้ถึง 3. จุดเริ่มต้นของตัวเราเอง ศักยภาพ จริตของเรา ณ ขณะนี้ 3. แนวทางเดินที่เราได้พิจารณา เลือกแล้วว่าน่าจะเป็นแนวนี้ และ 4. ความเพียร ทั้งวินัย และการหมั่นทบทวนการเดินทางของเราเป็นระยะๆ คราวนี้ เราเข้าเรื่องวิถีฯ กันมาเริ่มกันตั้งแต่ตื่นนอนเลย ...
  • วิถีชีวิตแห่งโยคะ (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 358 กุมภาพันธ์ 2552
    มนุษย์ทุกคนล้วนเดินทางไปสู่ความสุข คนส่วนใหญ่อยู่ในโลกแห่งวัตถุ ก็จะแสวงหาความสุขที่อิงกับวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สิน เงินทอง ลาภยศ คำสรรเสริญ โดยมีคนส่วนน้อยที่ไม่ได้ใส่ใจกับวัตถุ ก็จะแสวงหาความสุขที่ละเอียด เป็นความสุขที่ไม่อิงวัตถุ ความสุขที่มีอยู่ภายในตนเอง ซึ่งไม่ว่าเรากำลังสนใจความสุขระดับไหน เมื่อพัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป ความสุขของเราก็จะละเอียดลงๆฉบับที่แล้วเราพูดถึงเป้าหมายสุดท้ายของโยคี ...
  • วิถีชีวิตแห่งโยคะ (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 357 มกราคม 2552
    สวัสดีปีใหม่ พ.ศ.2552 ครับ คอลัมน์โยคะช่วงที่ผ่านมา ผมได้ทยอยแปลโยคะบำบัด ของครูกุลวัลยนันท์ ผู้ก่อตั้งสถาบันโยคะไกวัลยธรรม ประเทศอินเดีย จนเสร็จสิ้นลง ตั้งใจจะรวมเป็นเล่ม เพื่อเผยแพร่ไปยังผู้สนใจเรื่องโยคะบำบัด ซึ่งนับวันจะเพิ่มมากขึ้นๆ ส่วนปี พ.ศ.2552 นี้ ตั้งใจจะเขียนเกี่ยวกับ "วิถีทางแห่งโยคะ" โดยการนำภูมิปัญญาโบราณของชาวตะวันออก มาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนยุคอินเทอร์เน็ต ...
  • โยคะบำบัด บทที่ 4 (ต่อ) เทคนิคการชำระล้างลำไส้ (บาสติ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    1. วาตะบาสติการชำระล้างลำไส้ของโยคะนั้น ผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องมีความชำนาญในการทำนาอุลิ (เทคนิคการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องขยับไปมาเพื่อถูนวดช่องท้อง) นั่งยองๆ เข่าชิดแนบอก เอามือรวบหน้าแข้ง กอดรัดขาให้ชิดทรวงอก ทำนาอุลิ ทำให้เกิดสุญญากาศในช่องท้อง จากนั้น เปิดหูรูดทวาร อากาศจะเข้าไปในลำไส้ หูรูดทวารจะปิดเองโดยอัตโนมัติเมื่อเราคลายนาอุลิ ทำซ้ำหลายๆ ครั้ง ...
  • โยคะ...ละทุกข์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    "คืนนั้นคืนไหนใจแพ้ตัว คืนและวันอันน่ากลัวตัวแพ้ใจ ท่ามกลางแสงสีศิวิไลซ์ อาจหลงทางไปไม่ยากเย็น คืนนั้นคืนไหนใจเพ้อฝัน คืนและวันฝันไปไกลลิบโลกดั่งนกน้อยลิ่วล่องลอยแรงลมโบก พออับโชคตกลงกลางทะเลใจ"ข้างต้นเป็นบางส่วนของเพลง "ทะเลใจ" ที่ผู้อ่านหลายท่านคงรู้จักดี และคงอีกเช่นกันที่หลายท่านคงเคยประสบกับช่วงเวลา "กายแพ้ใจ ...
  • ยมะ นิยม : ไตร่ตรอง ตระหนักถึงคุณค่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ขอย้ำอีกครั้งว่า “ยมะ นิยมะ” ไม่ใช่เพียงเรื่องของการกำกับควบคุมอารมณ์จนหมดไป และอย่ามอง “ยมะ นิยมะ” ว่าเป็นเพียงมิติทางอารมณ์ แต่หากเป็นเรื่องของการพิจารณาไตร่ตรองจนตระหนักถึงคุณค่า ว่ามันเป็นสิ่งจำเป็นที่จะพาเราไปยังเป้าหมายท่ามกลางสิ่งเย้ายวน ความขัดแย้งภายในก็จะเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ระหว่างการไตร่ตรองกับแรงกระตุ้นของอารมณ์ ...
  • รักษาความสมดุลกาย-ใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ยมะ และนิยมะ เป็นองค์ปฐมแห่งพฤติของจิตในโยคะในโยคะนี้มีอีกนิยามคือ กริยาโยคะ หรือการชำระล้างและจัดปรับสภาวะเสียใหม่เป้าหมายของกริยาโยคะก็เพื่อช่วยให้เรารักษาความสมดุลของกาย-ใจให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ แม้ในขณะที่ต้องเผชิญกับสิ่งเร้าอันรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งเร้าจากภายนอก หรือจากภายในก็ตามยมะ คือหลักที่เฉพาะเจาะจงของความประพฤติต่อสังคมนิยมะ ...
  • การพัฒนาทัศนคติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    โยคะให้ความสำคัญกับการพัฒนาทัศนคติอย่างยิ่ง ในเรื่องของการมีสำนึกกำกับอยู่กับกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เพื่อการพัฒนาวินัยในตนเอง และเพื่อฝึกฝนตนเอง เรียกว่า ยมะ และ นิยมะ ยมะนั้นเป็นการบังคับ – ห้าม เพื่อฝึก เพื่อจัดปรับพฤติกรรม โดยเฉพาะทัศนคติที่อยู่เบื้องหลังพฤติกรรมนั้น ที่หากไม่บังคับเอาไว้ จะนำไปสู่การก่อให้เกิดปัญหาในสังคมขณะที่นิยมะเน้นการสร้าง พัฒนานิสัยและทัศคติที่ดีๆ ให้เกิดมากขึ้นๆ ...
  • กริยา : เดาติ Dhauti (1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    เรายังคงอยู่ในเรื่องของ "กริยา" ซึ่งเป็นเทคนิคเสริม เพื่อช่วยเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมต่อการฝึกเทคนิคโยคะต่างๆ โดยเฉพาะเทคนิคโยคะที่สูงขึ้น เช่น ปราณยามะและสมาธิ ซึ่งต้องการความพร้อมของร่างกายและจิตใจมากเป็นพิเศษกริยามีอยู่ด้วยกัน 6 กลุ่ม เรากล่าวถึง ตาตระกะ (ดวงตาและท่อทางเดินน้ำตา) เนติ (โพรงจมูก) กะปาละบาติ (ระบบหายใจ) ไปแล้ว คราวนี้ เรามาพูดถึงกลุ่มที่ 4 เดาติ ...
  • กะปาละบาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    เรายังคงอยู่ในเรื่องเทคนิค "อื่นๆ" ของโยคะ ดังที่ได้เน้นเสมอว่า โยคะไม่ใช่การออกกำลังกายชนิดหนึ่ง และเทคนิคของโยคะก็ไม่ได้มีแค่อาสนะ อย่างที่เรามักรับรู้กัน ทั้งหมดของโยคะเป็นการพามนุษย์ไปสู่โมกษะหรือความหลุดพ้น ซึ่งต้องอาศัยกายที่สมดุล มีมัสเซิลโทนดี (อาสนะ) ต้องการอารมณ์ที่มั่นคง โดยการฝึกให้หายใจช้าลง (ปราณายามะ) อย่างไรก็ตาม คนจำนวนหนึ่งไม่พร้อม จึงต้องมี "กริยา" ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa