Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ » โยคะ

โยคะ

  • เนติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    เทคนิคกริยาโยคะที่เป็นที่นิยมทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอินเดียเองคือ เนติ หรือการทำความสะอาดโพรงจมูก เราแบ่งเนติออกได้เป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ สูตระเนติ คือการใช้เส้นด้าย หรือสายยางทางการแพทย์ (rubber catheter) เป็นอุปกรณ์ในการทำความสะอาด ส่วนกลุ่มที่ ๒ ชลเนติ ใช้น้ำเป็นสื่อในการชำระล้างภายในโพรงจมูกของเราในกลุ่มที่ ๑ สูตระเนตินั้น ผู้ปฏิบัติจะใช้เส้นด้าย หรือสายยางเส้นเล็กๆ ...
  • ตาตระกะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ตาตระกะเป็นเทคนิคการฝึกโยคะชนิดหนึ่ง ซึ่งจัดอยู่ในหมวดของกริยาหรือการชำระล้าง กล่าวโดยคร่าวๆ เทคนิคนี้ คือการนั่งเพ่งดวงไฟของเทียนสัก ๑ นาที จนกระทั่งน้ำตาไหล ผลที่ได้รับในเชิงกายภาพ คือการกระตุ้นให้ต่อมน้ำตาทำงานได้เป็นปกติ เป็นการทำความสะอาด ชำระล้างท่อน้ำตา นอกจากนั้น ตาตระกะยังช่วยผ่อนคลายการทำงานของกล้ามเนื้อตา เนื่องเพราะในเวลาปกติที่เราใช้สายตามองสิ่งต่างๆ ...
  • กริยาหรือการชำระล้าง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    โดยคำศัพท์ กริยา แปลว่า การกระทำ สำหรับโยคะ ตำราโยคะสูตรของปตัญชลี ได้กล่าวถึงคำว่า กริยาในความหมายของการปฏิบัติโยคะโดยรวม โดยระบุเอาไว้ในบทที่ 2 ประโยคที่ 1 ว่า กริยาโยคะ (หรือการปฏิบัติโยคะ) คือ การฝึกตบะ (ความอดทน), หมั่นศึกษาตำราดั้งเดิมและมีศรัทธา (หรือการขัดเกลาจิตใจให้มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน)กว่า 1,800 ปี หลังจากโยคะสูตรของปตัญชลี ในราว พ.ศ. 1990 ...
  • โยคะ ยารักษา โรคอวิชชา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    โยคะ ยารักษา โรคอวิชชาในช่วงนี้ ใครไม่พูดถึงโยคะดูออก จะเป็นเรื่องเชยสักหน่อย ขนาดโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์ตั้งหลายผลิตภัณฑ์ยังใช้โยคะเป็นฉากในการเดินเรื่องเลย อย่างไรก็ตาม ในแง่ของความเข้าใจ คนทั่วไปก็ยังมีความรับรู้ต่อโยคะคลาดเคลื่อนอยู่มาก สังเกตได้ว่า ทุกวันนี้คนที่สนใจมาเรียนโยคะจำนวนมากก็ยังมีความ เข้าใจเดิมๆ รับรู้เพียงว่าโยคะเป็นเพียงการออกกำลังกายชนิดหนึ่งดังที่ได้นำเสนอทางคอลัมน์โยคะ ...
  • การผึกโยคะดีจริงหรือ?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    การฝึกโยคะดีจริงหรือ?สิ่งที่เป็นยอดปรารถนาของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทุกมุมโลก คือการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข มีสุขภาพดี และ ร่างกายที่แข็งแรง ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย เมื่อพูดถึงการมีร่างกายที่แข็งแรงก็มักจะตาม ด้วยคำแนะนำให้มีการออกกำลังกายอย่าง เพียงพอและเป็นประจำ คำว่าการออก กำลังกายเรามักจะนึกถึงการไปเล่นกีฬาต่างๆ เช่น เทนนิส ว่ายน้ำ ฟุตบอล หรือ ในปัจจุบันจะรวมถึงการมีกิจกรรมเคลื่อน ...
  • โยคะสำหรับโรคทั่วๆไป : ปวดหลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 276 เมษายน 2545
    การยืนตัวตรงถือได้ว่า เป็นวิวัฒนาการที่สำคัญมากของความเป็นมนุษย์ การที่มนุษย์ยืนตัวตรงได้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะลักษณะของกระดูกสันหลัง ที่ทำให้เราสามารถเลี้ยงตัวตรงอยู่ได้อย่างสมดุล อีกส่วนหนึ่ง คือ การเกร็งตัวเล็กน้อยของกล้ามเนื้อหลังเพื่อพยุงตัวเราให้ตั้งตรง หากกล้ามเนื้อต้องเกร็งตัวมากต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ก็อาจส่งผลให้เกิดการปวดหลังผู้ปวดหลังโดยมีสาเหตุจากการเครียดหรือจากการบาดเจ็บเล็ก ๆ น้อย ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะ ในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 275 มีนาคม 2545
    คนฝึกโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นสุขภาพ หรืออาจเป็นเพราะกำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจว่าหาอะไรต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคชา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กันคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตกชาวเยอรมันที่ใช้โยคะบำบัดรักษาคนไข้-แม้ชาวอินเดียยังรู้สึกว่าฝีกทำเหล่านี้ได้ยาก แล้วคนตะวันตกที่ไม่เคยชินแม้กับการนั่งบนพื้น ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 274 กุมภาพันธ์ 2545
    มีการศึกษาพบว่า ชาวเยอรมัน 1 ใน 10 คน ฝึกโยคะ นี่ไม่ได้หมายความว่าคนเหล่านั้นผึกโยคะทุกวัน แต่หมายความว่าพวกเขาเคยฝึกปฏิบัติโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกว่าบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นปัญหาสุขภาพ หรืออาจเป็นเพราะพวกเขากำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคซา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กับคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 273 มกราคม 2545
    มีการศึกษาพบว่า ชาวเยอรมัน1 ใน 10 คน ฝึกโยคะนี่ไม่ได้หมายความว่าคนเหล่านั้นฝึกโยคะทุกวัน แต่หมายความว่าพวกเขาเคยฝึกโยคะคนฝึกโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นปัญหาสุขภาพ หรืออาจเพราะพวกเขากำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดลิคซา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กับคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ...
  • จากหมอมาสู่ครูโยคะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 272 ธันวาคม 2544
    โยคะในฐานะที่เป็นปรัชญา ในฐานะที่เป็นแนวทางปฏิบัตินำเราไปสู่การมองชีวิตในหลายๆ แง่มุม และค่อยๆทำให้เราตระหนักรู้ความจริงที่ว่า ทางออกของปัญหาทางกายและจิตนั้นอยู่ในตัวเราเองต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคชา ครูสอนโยคะที่มีชื่อเสียงแห่งอินเดียว กับ คุณหมอ โดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ชาวเยอรมันที่ใช้โยคะบำบัดในการรักษาคนไข้ เนื้อหาว่าด้วยคุณประโยชน์ของโยคะในกระบวนการรักษาคนไข้ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa