หลัง
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
268
สิงหาคม 2544
กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องที่ทำหน้าที่พยุงกระดูกสันหลัง ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อคือตัว รับแรงกระแทก (โช้กอัพ) ที่ดี สติในการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เกิดความสมดุลของกล้ามเนื้อ ทั้งในขณะหดตัว เหยียดตัว และผ่อนคลายหมอนรองกระดูก คือ กระดูกอ่อนชั้นกลางระหว่างกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่เป็นตัวรับแรงกระแทก สาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกมีปัญหามาจากอิริยาบถผิดท่า อายุขัย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
267
กรกฎาคม 2544
หลังส่วนล่าง หลังส่วนล่าง หมายถึง บริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่าง กับบริเวณกระดูกก้นกบ ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้เป็นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ดีที่สุด เส้นประสาทที่อยู่บริเวณนี้จะเกี่ยวเนื่องไปยังขาทั้ง 2 ข้าง หากเส้นประสาทเหล่านี้ถูกกดทับ ขาทั้ง 2 ก็จะทำงานไม่เป็นปกติอาการปวดหลัง อาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ-กระดูก-ข้อ ระบบปัสสาวะ ระบบ สูตินรี ช่องท้อง และจิตใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อม (ต่อ) ในขณะที่วิทยาการสมัยใหม่ ช่วยหาวิธีที่จะบำบัดรักษาโรคกระดูกคออักเสบหรือเสื่อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในทำนองเดียวกัน การศึกษาเพื่อหาแนวทางในการ “ป้องกัน” ก็เพิ่มขึ้นด้วย โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่ช่วยในเรื่องการ “ป้องกัน” ได้เป็นอย่างดีและกุญแจที่สำคัญในการป้องกันของโยคะก็คือ “สติรู้ในอิริยาบถ” นั่นเอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อมกระดูกคออักเสบหรือเสื่อมสามารถเกิดขึ้นกับใครก็ได้ ที่อายุระหว่าง35 ถึง70 ปี กระดูกคอและข้อต่อ บริเวณรอบๆของคนเราเสื่อมไปตามธรรมชาติ จะเร็วหรือช้าเท่านั้นเอง แต่ที่น่าสนใจก็คือ ไม่จำเป็นว่าทุกคนจะต้อง “ปวด” คอ บางคนที่ปวดคอ อาจเป็นอาการปวดรวมๆของกระดูกคอ กล้ามเนื้อ และอิริยาบถ (ที่ผิดท่า) ข้อพึงระลึกก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
99
กรกฎาคม 2530
ฉบับที่แล้วได้อธิบายถึงการนวดแก้อาการปวดหลัง โดยใช้อุปกรณ์เข้าช่วย เช่น นมไม้ กะลา ลูกกอล์ฟ เป็นต้นนอกจากอุปกรณ์ดังกล่าวแล้ว เราอาจช่วยเหลือตนเองด้วยการยืนเท้าสะเอว โดยเอาหัวแม่มือทั้งสองข้างกดลงตรงบริเวณบั้นเอว แล้วแอ่นตัวมาข้างหลัง แต่เวลายืนให้หาหลักยืนพิงที่กันล้ม ถ้าหากยืนไม่ได้หลัก เวลาแอ่นตัวไปด้านหลังแล้วจะทำให้หงายหลังได้ ข้อควรระวังคือ อย่าให้ล้มหลักการนวดโดยใช้มือตนเองนวดนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
97
พฤษภาคม 2530
หลังเป็นส่วนที่พ้นจากหัวไหล่ลงมาจนถึงบั้นเอว โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอนด้วยกัน คือช่วงบนนับจากหัวไหล่ลงมาถึงสะบัก เรียกว่าหลังตอนบน ส่วนหลังตอนล่างนับจากสะบักลงมาจนถึงเอวหรือกระดูกสันหลังข้อที่ 17 ซึ่งเป็นกระดูกข้อสุดท้ายซึ่งตั้งอยู่บนกระดูกเชิงกราน หรือที่เรียกว่ากระเบนเหน็บคนส่วนมากมักจะไม่ค่อยสนใจหลังของตนเท่าไร จนกระทั่งวันใดวันหนึ่งท่านอาจจะร้องว่าโอ๊ย!!! ...