Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » Guideline

Guideline (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • Pulmonary Embolism

    วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    Pulmonary embolism เป็นภาวะหนึ่งที่มีความสำคัญทางคลินิก เนื่องจากมีอาการแสดงที่หลากหลายและคล้ายคลึงกับอีกหลายภาวะ ซึ่งถ้าหากแพทย์ไม่ได้สงสัยหรือให้การวินิจฉัยอย่างถูกต้อง รวมทั้งให้การรักษาอย่างเร่งด่วนอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้. ดังนั้นจึงควรเข้าใจถึงลักษณะทางคลินิกและแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้ เพื่อให้การดูแลรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น.อุบัติการณ์การเกิด venous ...
  • กู้ชีพเด็กขั้นสูง (ตอนที่ 4)

    วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    หลังจากที่ทีมกู้ชีพขั้นต้นให้การกู้ชีพแล้ว ทีมกู้ชีพขั้นสูงเมื่อไปถึง นอกจากยืนยันขั้นตอน ABC (airway-breathing-chest compression) แล้ว รีบให้ออกซิเจน ติดเครื่องเฝ้าคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG monitor) และเตรียมเครื่องช็อกหัวใจ (defibrillator) ด้วย แล้ววิเคราะห์จังหวะหัวใจเต้น.ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติภาวะหัวใจเต้นผิดปกติในเด็กเกือบทั้งหมดไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจโดยตรง (เช่น กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ/พิการ ...
  • กู้ชีพเด็กขั้นสูง (ตอนที่ 3)

    วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    อุปกรณ์ช่วยการไหลเวียนเลือดในการกู้ชีพ นอกจากอุปกรณ์ช่วยการหายใจดังที่กล่าวไว้ในการกู้ชีพขั้นสูงตอนที่ 2 แล้ว อุปกรณ์ช่วยการไหลเวียนเลือดก็มีความสำคัญ อาทิ1." กระดานหลัง" (spine board, spinal board) และ " กระดานเตียง" (bedboard)"กระดานหลัง" ใช้สำหรับหามผู้ป่วยจากจุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลหรือที่อื่น และสามารถถ่ายเอกซเรย์ผ่าน " กระดานหลัง" ...
  • Atrial fibrillation

    วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    นิยามและระบาดวิทยาAtrial fibrillation เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจ คือ เป็น rapid, irregular, fibrillatory waves โดยมีความหลากหลายทั้งขนาด รูปร่าง และระยะเวลาในการเต้น.ส่วน " lone atrial fibrillation " ได้แก่ atrial fibrillation ที่ไม่พบโรคหัวใจที่เป็นสาเหตุหรือไม่มีประวัติการมีภาวะความดันเลือดสูง.อุบัติการณ์ผู้ป่วย atrial ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ตรวจสุขภาพด้วยแผนภูมิ
  • ตา...หน้าต่างโลก
  • ตู้ยาประจำบ้าน
  • ต้นไม้ใบหญ้า
  • ถาม-ตอบผ่าน website
  • ถาม-ตอบเรื่องยา
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • ทันโรค
  • ท่อง WWW ไปกับคลินิก
  • ท่องไปได้คิด
  • ธรรมโอสถ
  • นวดไทย
  • นานาสาระ
  • นานาสาระ
  • บทความพิเศษ
  • ‹‹
  • 4 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa