Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » Guideline

Guideline (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • การดูแลผู้ป่วยให้ "ตายดี" (2)

    วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    การตาย คืออะไร"การตาย" เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อมีการเกิด แต่เรามักจะแกล้งลืมเลือนมันเสีย ถ้าเราระลึก/ตระหนักได้ว่า การตายเกิดขึ้นและเกิดตลอดเวลาทันทีที่เราเกิด เราคงจะ "ลด-ละ-เลิก" ความโลภ-โกรธ-หลง ลงได้มากกว่าที่เป็นอยู่.เมื่อเราคลอดออกมาจากท้องแม่ ภายในไม่กี่นาที สายสะดือที่เลี้ยงเรามาตลอดเวลาที่เราอยู่ในท้องแม่ ก็จะเหี่ยวแห้ง และในที่สุดก็จะตาย (เน่าเปื่อย) ...
  • การดูแลผู้ป่วยให้ "ตายดี" (1)

    วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    ในห้องฉุกเฉิน "หมอฉุกเฉิน" (แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน) จะพบผู้ป่วยตายแล้ว (DOA, death on arrival) กำลังจะตาย (dying) ใกล้ตายหรือระยะสุดท้าย (terminal or end-of-life) เจ็บหนัก (critical) ป่วยเฉียบพลันรุนแรง (acutely and seriously ill) และผู้ป่วยเฉียบพลัน/เรื้อรังอื่นๆ ในขณะเดียวกัน (ช่วงเดียวกัน) มากกว่าแพทย์ในสาขาอื่นๆ."หมอฉุกเฉิน" จึงต้องมีศิลปะในการดูแล "คน" ...
  • การแจ้งข่าวร้ายและการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง/ระยะสุดท้าย

    วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    บทบรรณาธิการ "เป็นมะเร็ง...ตายลูกเดียว : ควรพูดไหม ?" โดยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ และบทความเรื่อง "ต้นแบบการดูแลโรคเรื้อรัง : นวัตกรรมเพื่อความแข็งแกร่งของระบบสุขภาพปฐมภูมิ" โดยอาจารย์ แพทย์หญิงปัทมา โกมุทบุตร กับบทความเรื่อง "การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย" โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภัสร์ สุบงกช ในคลินิกเดือนเมษายน 2551 ...
  • ภัยพิบัติ (24)

    วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (พ.ร.บ. ปภ.) พ.ศ. 2550ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (60 วันหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2550) มีสาระสำคัญที่ย่อมาให้ตระหนัก เช่นมาตรา 3 ยกเลิก พ.ร.บ.ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.ป้องกัน และระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2542มาตรา 4 "สาธารณภัย" หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ ...
  • ภัยพิบัติ (23)

    วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    24. ภัยพิบัติคนสำคัญภัยพิบัติคนสำคัญ (VIP-related disaster) ในที่นี้หมายถึง ภาวะที่มีบุคคลสำคัญ (very important person, VIP) มาที่โรงพยาบาลในสภาพของคนป่วยหรือคนปกติ จนทำให้เกิดความสับสนวุ่นวายในโรงพยาบาลหรือที่ห้องฉุกเฉิน ทำให้การตรวจรักษาผู้ป่วยไม่อาจดำเนินการได้ตามปกติ.เพราะมีผู้คนจำนวนมาก (ทั้งญาติบุคลากรในโรงพยาบาลและประชาชนทั่วไปรวมทั้งสื่อมวลชน) ทะลักเข้ามาในโรงพยาบาล เพื่อชม เยี่ยม ...
  • ภัยพิบัติ (22)

    วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    21. ทุพภิกขภัย หรือฉาตกภัยทุพภิกขภัย หรือฉาตกภัย (famine) หมายถึง ภัยพิบัติที่มีผู้เจ็บป่วยและ/หรือ เสียชีวิตเป็นจำนวนมากจากการขาดแคลนอาหารอันเกิดจากภัยธรรมชาติ (เช่น ความแห้งแล้ง น้ำท่วม แมลงหรือโรคระบาดของพืชพันธุ์ธัญญาหาร/ปศุสัตว์) และ/หรือน้ำมือมนุษย์ (เช่น สงคราม เศรษฐกิจล่มสลาย การอพยพโยกย้ายถิ่นฐานของฝูงชนจำนวนมาก).ทุพภิกขภัย มักจะเกิดในท้องถิ่นหรือประเทศที่มีปัญหาอยู่ก่อน เช่น ...
  • ภัยพิบัติ (21)

    วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    16. ภัยพิบัติตึกถล่มภัยพิบัติตึกถล่ม (building collapse disaster) หมายถึง ภาวะที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นจำนวนมากจากการถล่ม/ทรุดตัวของตึก/อาคารสูง (high-rise building) ซึ่งอาจเกิดจากโครงสร้างอ่อนแอจากการออกแบบ/สร้างผิดแบบ/ต่อเติมผิดพลาด หรือเกิดจากไฟไหม้ การก่อการร้าย (เช่น รถบรรทุกระเบิดถล่มตึกสูงที่ Oklahoma City ใน พ.ศ. 2538 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 167 คน บาดเจ็บ กว่า 750 คน, ...
  • ภัยพิบัติ (20)

    วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    15. ภัยพิบัติปรมาณู/กัมมันตภาพรังสีภัยพิบัติปรมาณู/กัมมันตภาพรังสี (nuclear/radioactive disasters) หมายถึง ภาวะที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นจำนวนมากจากพลังปรมาณู (พลังนิวเคลียร์) หรือกัมมันตภาพรังสี.ความหมายของศัพท์ปรมาณู หรืออะตอม (atom) คือ ส่วนที่เล็กที่สุดของสาร (ธาตุ) ที่ไม่สามารถแยกย่อยได้อีกด้วยวิธีทางเคมี ประกอบด้วยแกนกลาง (นิวเคลียส, nucleus) และอิเล็กตรอน (electron) ...
  • ภัยพิบัติ (19)

    วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    14. ภัยพิบัติสารเคมีภัยพิบัติสารเคมี (chemical disasters) ในที่นี้ หมายถึง ภาวะที่มีผู้บาดเจ็บล้มตาย เป็นจำนวนมากจากสารเคมีหรือสารพิษ (hazardous materials, HazMat) ซึ่งอาจเกิดจาก1. ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น สารพิษหรือเถ้าถ่านและควันพิษจากภูเขาไฟระเบิด หรือไฟป่า การกินเห็ดพิษ หน่อไม้ปี๊บ อาหารกระป๋อง ฯลฯ ที่มีสารพิษอยู่ เช่น กรณีหน่อไม้ปี๊บเป็นพิษที่จังหวัดน่าน จนมีผู้ป่วยกว่า 100 คน ...
  • ภัยพิบัติ (18)

    วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    12. ภัยพิบัติจราจรภัยพิบัติจราจร (traffic disaster) ในที่นี้หมายถึง ภาวะที่มีการบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมากจากอุบัติภัยในการเดินทางโดยยานพาหนะต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ จากการชนกัน การพลิกคว่ำ การตกราง(รถไฟ รถราง)/ตกเหว/ตกน้ำ/ตกสู่พื้นดิน การเกิดเพลิงไหม้ หรือการระเบิด (จากตัวเครื่องเอง/สิ่งของที่บรรทุกมา/การก่อการร้าย หรืออื่นๆ) เป็นต้นในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรประมาณ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa