Guideline (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
294
มิถุนายน 2552
ความหมายเจ็บ ในที่นี้หมายถึง อาการปวด เจ็บ จุก แน่น หนัก แสบ เสียว เสียด เหนื่อย อึดอัด หายใจไม่ออก หรือ อาการไม่สบาย (discomfort) อื่นๆ.อก ในที่นี้หมายถึง ส่วนของร่างกายตั้งแต่ส่วนต่อกับลำคอจนถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง และบริเวณข้างเคียง.ฉุกเฉิน ในที่นี้หมายถึง เกิดขึ้นเฉียบพลัน/กะทันหัน และ/หรือ ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน ความพิการ และ/หรือ ความตายได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที ...
-
วารสารคลินิก
293
พฤษภาคม 2552
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 (ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2550) มีบัญญัติในมาตรา 12 ดังนี้"มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน ...
-
วารสารคลินิก
292
เมษายน 2552
ความหมาย"สุดยอดแห่งชีวิต" ของคนๆ หนึ่งน่าจะหมายถึง สภาวะที่คนๆนั้นมีความสุขความสมหวังมากที่สุดในชีวิตของตน ซึ่งอาจเกิดขึ้นแล้ว หรือใฝ่ฝันว่าจะเกิดขึ้นสักครั้งหนึ่งในชีวิต.ความสุขความสมหวังของคนทั่วไปหรือปุถุชน (คนที่ยังมีกิเลสหนาหรือสามัญชน) ย่อมวนเวียนอยู่ในเรื่อง "กิน-กาม-เกียรติ-โก้" เช่นกรณีที่มีข่าวครึกโครมไปทั่วโลกในเดือนตุลาคม 2551 ว่าหนุ่มใหญ่ชาวเม็กซิกัน นายมานูเอล ...
-
วารสารคลินิก
291
มีนาคม 2552
8.การดูแลหลังตายสำหรับผู้ที่เชื่อถือในเรื่องของ จิตวิญญาณหลังตาย ส่วนใหญ่จะเชื่อว่า หลัง ตายใหม่ๆ จิตวิญญาณของผู้ป่วยจะยังคงวนเวียนอยู่ในที่นั้น ถ้าญาติมิตรแสดงความโศกเศร้าเสียใจ ร้องห่มร้องไห้มากมาย อาจทำให้จิตวิญญาณของผู้ป่วยเกิดความห่วงกังวล และไม่สามารถจากไปสู่สุคติได้.ผู้ดูแลผู้ป่วย (แพทย์ พยาบาล และอื่นๆ) ...
-
วารสารคลินิก
290
กุมภาพันธ์ 2552
4.4 การปรึกษาหารือร่วมกันเป็นประจำระหว่างก.ผู้ดูแลผู้ป่วยด้วยกันเอง โดยเฉพาะถ้าดูแลผู้ป่วยด้วยคณะ(ทีม) การประชุมปรึกษาหารือกันเป็นประจำจะเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง อันได้แก่ แพทย์ทั้งหมด (ถ้ามีแพทย์หลายสาขาที่ร่วมดูแลผู้ป่วย หรือในโรงเรียนแพทย์ จะมีแพทย์ประจำบ้าน แพทย์ฝึกหัด และนักศึกษาแพทย์ด้วย) พยาบาลทั้งหมด (เพราะมีพยาบาลจำนวนมากทั้งเวรเช้า-บ่าย-ดึก พยาบาลพิเศษและอาจมีนักศึกษาพยาบาลด้วย) ...
-
วารสารคลินิก
289
มกราคม 2552
3.3วิธีบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน(1)การรักษาสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะผ่านพ้นไปแล้ว เช่น การให้ยาฆ่ามะเร็ง ("เคโม") การฉายแสง หรือมักจะรักษาไม่ได้ เช่น มีพยาธิสภาพรุนแรงในช่องท้อง หรือในสมอง แต่บางอย่างก็รักษาสาเหตุได้ เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ (จากยาหรือโรคของตนเอง) ก็ให้ยาลดกรดและยาเคลือบกระเพาะ อาการท้องผูกก็ให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระออก เป็นต้น.(2)การใช้ยา เช่น ...
-
วารสารคลินิก
288
ธันวาคม 2551
2. การทำให้ผู้ป่วย (และญาติ) ยอมรับกลไกแห่งความตายตามธรรมชาติในปัจจุบัน ระบบการศึกษาและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ทำให้เรายอมรับความจริงแห่งชีวิตและความจริงแห่งธรรมชาติน้อยลงๆ โดยเฉพาะในเรื่องความแก่ ความเจ็บ และความตาย.เมื่อเกิดมาและเติบโตจนหลงใหลในความเป็น "เรา" และความเป็น "ของเรา" แล้ว เราจึงกลัวการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะความแก่และความตาย ...
-
วารสารคลินิก
287
พฤศจิกายน 2551
วิธีการดูแลผู้ป่วยให้ "ตายดี" สำหรับประเทศไทยประเทศไทยมี "ต้นทุนทางสังคม" ที่ดีมากถึงดีที่สุดประเทศหนึ่งในโลกสำหรับการดูแลผู้ป่วย ให้ " ตายดี" เช่น1. พลเมืองไทยส่วนใหญ่ (>90%) นับถือพุทธศาสนาที่พร่ำสอนให้เราเห็นว่าการ"เกิด-แก่-เจ็บ-ตาย" เป็นของธรรมดาและเป็นธรรมชาติ เพราะสรรพสิ่งจะต้องเปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) ขัดแย้งเป็นทุกข์ (ทุกขัง) และพึ่งพิงกัน ...
-
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
หลักการการดูแลผู้ป่วยให้ตายดีอันที่จริง การดูแลผู้ป่วยให้ "ตายดี" ไม่ควรจะจำกัดอยู่เฉพาะสำหรับ "ผู้ป่วยที่หมดหวัง" และ "ผู้ป่วยระยะสุดท้าย" เท่านั้น เพราะผู้ป่วยทุกคนแม้แต่ผู้ป่วยเฉียบพลัน เช่น ผู้ป่วยหลอดเลือดหัวใจตีบตันเฉียบพลันอาจจะตายเมื่อใดก็ได้ (ส่วนใหญ่หรือ > 70 % มักจะตายภายใน 24 ชั่วโมงแรก ...
-
วารสารคลินิก
285
กันยายน 2551
ช่วงชีวิต (อายุขัย)สิ่งมีชีวิตต่างๆ ย่อมมีช่วงเวลาแห่งการมีชีวิตอยู่ (ช่วงชีวิต อายุ อายุขัย) ที่แตกต่างกัน บางชนิดมีช่วงชีวิตที่สั้นมาก (เป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน) บางชนิดมีอายุยืนเป็นร้อยปีพันปี เช่น ต้น Norway Spruce (ซึ่งเป็นต้นสนชนิดหนึ่งที่ใช้ประดับเป็นต้นคริสต์มาส) ต้นหนึ่งในประเทศสวีเดน มีอายุประมาณ 9,550 ปี (เก่าแก่ที่สุดในโลก).มนุษย์เราแต่ละเผ่าพันธุ์ แต่ละสายเลือด แต่ละสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ...