Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » สิ่งที่ควรรู้ก่อนจะวิ่ง

สิ่งที่ควรรู้ก่อนจะวิ่ง

  • ปัญหาของหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    “ตุ๊บตะลู๊บ ตุ๊บตะลู๊บ”เสียงหัวในที่เต้นแรงและเร็วประมาณนาทีละ 120-150 ครั้ง ขณะที่นักวิ่งกำลังเร่งฝีเท้าอยู่ ราวกับว่าหัวใจจะหลุดออกจากทรวงอกให้ได้ การหายใจถี่และแรง เส้นเลือดที่ขมับทั้งสองข้างโป่งออกและเต้นในจังหวะเดียวกับหัวใจ ยิ่งทำให้เกิดความเจ็บปวดราวกับมีใครเอาฆ้อนมาทุบที่หัว ทุกฝีก้าวที่ย่ำลงกับพื้น นี่เราเป็นอะไร ตาชักมืดมึนไป ขาชักอ่อนปวกเปียกจนแทบจะลงไปนอนกองกับพื้น ...
  • ตอนที่ 5 ปัญหาของหลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ในบรรดาสัตว์ที่เดินหรือวิ่งได้นั้นมนุษย์นับว่าเป็นสัตว์ที่วิ่งได้โดยลำตัวตั้งตรงที่สุด ไม่เพียงแต่ขาทั้ง 2 ข้างเท่านั้น ที่ต้องทำงานขณะวิ่ง ส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อข้อต่อของแขน ศีรษะ คอ ลำตัวต้องทำงานร่วมไปด้วยเพื่อให้ท่าทางวิ่งอยู่ในลักษณะที่ตรง นอกจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของขา เช่น เท้าและข้อเท้า หน้าแข้ง ข้อเข่า และข้อตะโพกแล้ว ...
  • ตอนที่ 5 ต้นขาและตะโพก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    “อะไรเอ่ยตอนเช้า 4 ขา กลางวัน 2 ขา ตอนเย็น 3 ขา” เมื่อครั้งยังเป็นเด็กอยู่ที่ชั้นประถม มีบทเรียนบทหนึ่งกล่าวถึงตัวสฟินซ์ที่มีศีรษะใบหน้าเป็นคนแต่ตัวเป็นสิงห์โตของอียิปต์ในสมัยดึกดำบรรพ์ ก่อนที่จะกลายเป็นหินสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ ชอบวางอำนาจบาทใหญ่ที่ปากทางถนน ตั้งคำถามต่อมนุษย์ที่จำเป็นต้องสัญจรไปมาบนถนนเส้นนี้ ถ้าตอบคำถามข้างบนนี้ได้ก็ยอมให้ผ่านไปได้ ...
  • ตอนที่4 หน้าแข้งและหัวเข่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    จดหมายฉบับหนึ่งเขียนมาถามว่า “ผมได้เริ่มวิ่งมาเป็นเวลา 2-3 เดือน ตอนนี้เริ่มรู้สึกมีปวดบริเวณด้านในของหน้าแข้ง คงเป็นลักษณะที่เรียกว่า Shin Splint ผมควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร” อีกฉบับหนึ่งเขียนมาว่า “ผมอายุย่างเข้า 40 แล้ว รู้สึกเจ็บปวดหัวเข่าเวลาวิ่ง แพทย์บอกว่าเป็นโรคกระดูกงอก ผมควรจะวิ่งต่อไปหรือไม่”จดหมายฉบับแรกแสดงว่าผู้เขียนมีการศึกษาพอสมควร ...
  • เท้าและข้อเท้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 59 มีนาคม 2527
    กระดูกนิ้วเท้าหักมักพบในผู้วิ่งเท้าเปล่า เกิดจากนิ้วเท้ากระแทกกับก้อนหินหรือฟุตบาธอย่างรุนแรง จนทำให้กระดูกนิ้วเท้าหัก เกิดอาการบวมแดงและเจ็บปวดมาก นิ้วเท้าที่หักจะมีลักษณะผิดรูปไป และกางออกทางด้านข้างได้มากกว่าปกติ เมื่อมีอาการเช่นนี้เกิดขึ้นควรหยุดวิ่งทันที และกระชับนิ้วเท้านั้นให้อยู่กับที่ โดยใช้ไม้หรือกระดาษแข็งดามแล้วรัดด้วยหนังสติ๊ก หรือกระชับไว้กับนิ้วข้างเคียงก็ได้ ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa