-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)8วันนี่ก็ปาเข้าไปตั้งวันที่8 ของการเกิดปฏิสนธิแล้ว อะไรๆ ในมดลูกก็เปลี่ยนแปลงไปมากโขทีเดียว ถึงตอนนี้ตัวอ่อนบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) หาที่ซุกตัวเพื่อรอการเจริญเติบโตต่อไปได้แล้ว และเพื่อให้การยึดเกาะแหล่งพำนักพักพิงในมดลูกเป็นไปได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 4)การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)2 วันภายหลังจากที่อสุจิได้เข้าผสมกับไข่ และเซลล์ได้เริ่มมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณ เมื่อเวลาแห่งการปฏิสนธิได้ก้าวล่วงเข้าสู่วันที่ 2 ไข่ได้แบ่งตัวออกถึง 8 เซลล์ (จากภาพที่เห็นเป็น 4 ฟอง) และกระบวนการเช่นนี้จะยังคงดำเนินต่อไปตลอดการเดินทางจากรังไข่เพื่อเข้าสู่มดลูกโดยใช้เวลา 3 วัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 3)การเจริญเติบโตของตัวอ่อนการต่อสู้ของตัวอสุจินับล้านๆ ตัวเพื่อแย่งชิงความเป็นหนึ่งในฐานะผู้พิชิตไข่ได้สิ้นสุดลงไปแล้วเมื่อฉบับที่ผ่านมา ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าหน้าที่ของตัวอสุจิที่แข็งแรงที่สุดได้เสร็จสิ้นลงแล้วเช่นกัน จากนี้ไปไข่ที่ได้รับการผสมก็จะพัฒนาตัวเองไปอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะเติบโตเป็นทารกที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะออกมาดูโลกภายนอกต่อไป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
166
กุมภาพันธ์ 2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 2)การเดินทางของอสุจิเมื่อครั้งที่หนุ่ม (สาว) น้อย หนุ่ม (สาว) ใหญ่ในเวลาที่เป็นเด็กเล็กๆ และด้วยอยู่ในวัยอยากรู้อยากเห็น หลายคนอาจจะยังคงจำได้ว่าตนเองเคยมีคำถามซุกซนมาทำให้คุณพ่อคุณแม่ลำบากใจที่จะตอบเสมอ เป็นต้นว่า“พ่อฮับ ป๋องเกิดมาได้ไงฮะ”“แม่ฮับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
อาหารปลอดสารพิษ...ทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่า“พลังของผู้บริโภค เป็นพลังอันศักดิ์สิทธิ์ที่กำหนดกลไกการตลาดได้” ประโยคข้างต้นเมื่อหลายปีก่อน หลายคนยังไม่แน่ใจ แต่ปัจจุบันมีคนจำนวนไม่น้อยเริ่มรู้สึกว่าภารกิจนี้เป็นหน้าที่ที่เราทุกคนจะต้องเริ่มปฏิบัติการในอันที่จะปกป้องคุ้มครองสวัสดิภาพตนเอง และเพื่อนร่วมโลกคนอื่นๆ ที่ต้องอยู่ในสภาพ ”หมดทางเลือก” อยู่ร่ำไป เพื่อพบกับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ในโอกาสขึ้นปีใหม่นี้ ก็อยากจะขอเริ่มต้นปีด้วยเรื่องราวของความ “ใหม่” ดังที่จั่วหัวข้อไว้ จากที่เคยเสนอแต่เฉพาะเรื่องการทำงานของอวัยวะส่วนต่างๆ ในร่างกาย แต่คราวนี้ลองมองย้อนกลับมาดูกันสิคะว่า กว่าที่อวัยวะเหล่านั้นจะมีโอกาสได้ทำหน้าที่ของมันอย่างเต็มศักยภาพ จุดกำเนิดชีวิตได้เริ่มต้น ณ ที่ใดมนุษย์แต่ละคนได้ถือกำเนิดขึ้นมาจากหน่วยชีวิตเล็กๆ จำนวนหลายพันล้านหน่วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
ถึงเวลา...หญิงไทยร่วมใจต้านภัยเอดส์“ไป...ผมก็ไปแป๊บเดียว แต่ต้องกินเหล้าก่อน ส่วนใหญ่แล้วไปคนเดียวครับ เพราะเวลากินเหล้าชอบนั่งคนเดียว ตอนไปแดง (ภรรยา) เขาไม่รู้หรอก แต่กลับมาผมก็บอกเขาทุกที จะว่าไปบ่อยหรือเปล่าก็ไม่รู้เหมือนกัน อย่างปีที่แล้วนี่ไม่ได้เที่ยวเลย มาปีนี้เที่ยว มกราคม-มิถุนายน 6-7 ครั้ง”จนเมื่อประมาณเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เขามีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
ลำคอ (ตอนจบ)ทุกวันนี้มีหลายอาชีพที่จำเป็นต้องอาศัยเสียงเป็นเครื่องยังชีพที่สำคัญ โดยเฉพาะอาชีพที่กำลังได้รับความนิยมอยู่มากในขณะนี้ ได้แก่ ศิลปินนักร้อง และอาจรวมไปถึงดีเจ (disc jockey) หรือนักจัดรายการเพลงขวัญใจวัยรุ่นตามคลื่นวิทยุของสถานีต่างๆ และด้วยเสียงอันมีกังวานเสน่ห์น่าฟังของท่านเหล่านั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
163
พฤศจิกายน 2535
ลำคอ เป็นได้มากกว่าท่อลำเลียงอาหารก่อนที่จะเริ่มเขียนต้นฉบับเรื่องนี้ ได้มีโอกาสนั่งพลิกดูคอลัมน์นี้อย่างคร่าวๆ ตั้งแต่ฉบับที่ 1 จนถึงฉบับปัจจุบัน ก็ให้รู้สึกแปลกใจเมื่อพบว่า “หมอชาวบ้าน” ยังไม่เคยกล่าวถึงเรื่อง “ลำคอ” กันจริงๆเลยสักครั้งในคอลัมน์นี้ ทั้งที่ “ลำคอ” หรือ “คอ” ก็เป็นอวัยวะที่ค่อนข้างจะเห็นเด่นชัดกว่าส่วนอื่นๆเสียด้วยซ้ำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
162
ตุลาคม 2535
อวัยวะเทียมณ คลินิกศัลยกรรมเสริมความงาม นวลอนงค์นางหนึ่งประมาณอายุว่าคงจะเลยเลข4 ไปแล้ว ได้เยื้องกรายเข้าไปปรากฏต่อหน้าแพทย์ที่รับปรึกษาปัญหาความงาม พร้อมกับพูดประโยคสั้นๆ แต่กินความหมายชัดเจนว่า “คุณหมอคะ ช่วย ‘ยกเครื่อง’ ทั้งตัวเลยนะคะ”ถ้าเป็นสมัยก่อนคุณหมอที่ทำศัลยกรรมอาจจะเกิดอาการงงเล็กน้อย ด้วยความสงสัยว่าคนอะไรจะหาความงามสักนิดไม่เจอเลยเชียวหรือ ...