-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
198
ตุลาคม 2538
โรคเกาต์ กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ผมต้องเดินทางไปประชุมที่เมืองวอชิงตันดีซี เมืองหลวงของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลานานกว่า 10 วัน สภาพดินฟ้าอากาศในช่วงนั้นมีฝนตกทุกวัน ค่อนข้างขึ้นและร้อนอบอ้าว อยู่แต่ในห้องปรับอากาศ เหงื่อไม่ค่อยออก อาหารการกินแพงมากเมื่อเทียบกับเมืองไทย จึงต้องวนเวียนและเข้ากินอาหารประเภทฟาสฟู้ด เบอร์เกอร์ ทั้ง ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
197
กันยายน 2538
การออกกำลังกาย ในสตรีหมดระดูภาวะหลังหมดระดู(menopause) อาการที่พบบ่อยหลังหมดระดูมีหลายอย่างคือ ความรู้สึกร้อนวูบวาบ คล้ายมีไข้ คลั่นเนื้อคลั่นตัว เป็นโรคหัวใจ ซึ่งเป็นผลจากปริมาณของโคเลสเตอรอลในเลือดสูงเกินไป กระดูกเปราะได้ง่าย โดยเฉพาะบริเวณปลายกระดูกแขน กระดูกสันหลัง และคอกระดูกต้นขา เกิดอาการทางจิต เช่น สมองเสื่อมแบบอัลไซเมอร์ มะเร็งของลำไส้ใหญ่ และผิวหนังที่เหี่ยวย่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
196
สิงหาคม 2538
การออกกำลังกายและ งานบ้านเมื่อกล่าวถึงการออกกำลังกาย หลาย ๆ ท่านมักจะคิดถึงการว่ายน้ำ การขี่จักรยาน การเดิน การวิ่ง หรือนึกถึงเรื่องการเล่นกีฬาชนิดต่าง ๆ เท่านั้น ปัญหาจากการนึกคิดเช่นนี้ คือ มักจะอ้างว่าไม่มีเวลาออกกำลังกาย มีงานมาก ดินฟ้าอากาศ ไม่เอื้ออำนวย สถานที่คับแคบไม่สะดวกต่อการออกกำลังกาย หรืออายุมาก สุขภาพไม่ดี ไม่กล้าออกกำลังกาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
195
กรกฎาคม 2538
มนุษย์กับความหลากหลายทางชีวภาพ“พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์กำเนิดขึ้นมาในโลกจากกระบวนการตามธรรมชาติ โดยเหตุผลเช่นเดียวกันการก่อกำเนิดขึ้นของมนุษย์” ข้อความนี้คัดลอกมาจากบทความเรื่อง“สูญไปจากแผ่นดินสยามปัญหาพังทลายของทรัพยากรพันธุกรรมในประเทศไทย” นับว่าเป็นสัจธรรมที่ควรค่าแก่การเข้าใจอย่างยิ่งการที่มนุษย์พยายามคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติให้น้อยลง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
194
มิถุนายน 2538
ความเครียดและสุขภาพอะไรเอ่ย ดีใจก็เกิดได้ เสียใจก็เกิดได้ เกิดได้ทั้งเวลาประสบ ความสมหวังและผิดหวัง (เป็นภาวะอย่างหนึ่งของร่างกายและจิตใจ)คำตอบก็คือ การเกิดภาวะเครียดนั่นเองเนื่องจากความเครียดทำให้เกิดการตอบสนองของร่างกายได้เกือบทุกส่วน ทั้งอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ แต่ไม่จำเพาะ ตัวอย่างเช่น ปวดศีรษะ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ หัวใจสั่น หายใจขัด หายใจถี่ เหงื่ออกง่าย ตกใจง่าย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
191
มีนาคม 2538
อันตรายจากการออกกำลังกายเกินขนาดการออกกำลังกายเป็นวิธีการส่งเสริมสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้ แต่การออกกำลังกายที่เกินขนาดหรือวิธีการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสมกับอายุ เพศ เวลา สถานที่ อุปกรณ์การออกกำลังกาย และสภาพของร่างกาย กลับบั่นทอนสุขภาพของร่างกาย และเกิดอันตรายขั้นร้ายแรงจนถึงกับเสียชีวิตได้ ซึ่งมักพบได้เสมอๆ และมีแนวโน้มจะสูงขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
190
กุมภาพันธ์ 2538
การออกกำลังกายในภาวะความดันเลือดสูงเวลาที่เราไปพบแพทย์หรือไปโรงพยาบาล เป็นธรรมเนียมที่จะต้องมีการวัดความดันเลือด เพื่อตรวจดูสภาพของระบบหัวใจหลอดเลือดว่าปกติหรือไม่ ความดันเลือดมีค่าสูงสุดเมื่อหัวใจบีบตัวและต่ำสุดเมื่อหัวใจคลายตัว ค่าที่ได้จึงมี 2 ค่าคือ ความดันช่วงหัวใจบีบตัว ซึ่งตามปกติไม่ควรเกิน 140 มิลลิเมตรปรอท(หมายถึงอ่านความสูงของปรอทได้ 140 มิลลิเมตร) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
ธรรมชาติบำบัดสมัยนี้ถ้าไม่พูดถึงธรรมชาติบำบัดคงถูกมองว่าล้าหลัง ไม่ทันต่อเหตุการณ์ เพราะในภาคของรัฐบาลมีการสนับสนุนด้านการเงินให้จัดสัมมนาในเรื่องธรรมชาติบำบัดอย่างสนุกสนาน ในภาคของเอกชนก็มีการโฆษณาเพื่อชักจูงให้ประชาชนไปรับการรักษาทางธรรมชาติบำบัดแต่เมื่อถามว่าธรรมชาติบำบัดคืออะไร คงยังหาคำตอบที่ชัดเจนได้ยาก ทั้งนี้ก็เช่นเดียวกับศาสตร์แขนงต่างๆ ที่รับอิทธิพลมาจากประเทศอื่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
ข้อปฏิบัติตอนตื่นนอนตราบใดที่มนุษย์ต้องการการนอนหลับ ตราบนั้นย่อมมีการตื่นนอน และเนื่องจากการนอนหลับมีอยู่หลายรูปแบบในภาวะต่างๆกัน เช่น นอนหลับบนเตียง นั่งสัปหงก ยืนหลับใน หลับเวลาทำงานหรือขับรถ การตื่นนอนในแต่ละภาวะจึงแตกต่างกันด้วยการตื่นนอนโดยทั่วไปเกิดขึ้นได้ใน2 ลักษณะ คือ การตื่นนอนเองและตื่นจากปัจจัยภายนอก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
ความเมื่อยล้าจากการทำงานอาการเมื่อยล้าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหลังจากการทำงานทุกชนิด โดยเฉพาะงานที่ต้องออกแรงมาก เช่น การแบกหาม ยกของหนัก หรือการนั่งทำงานเป็นเวลานาน การทำงานต้องอาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อจึงจะเกิดแรงตามที่ต้องการได้ โครงร่างของมนุษย์ประกอบด้วย กระดูก ข้อต่อ ที่มีกล้ามเนื้อเกาะอยู่ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว ข้อต่อจะเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อต่อนั้น ...