Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์

นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์

  • ดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ยากตรงไหน?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 397 พฤษภาคม 2555
    ทารกเพศหญิงอายุครรภ์ ๒๕ สัปดาห์ น้ำหนักแรกเกิด ๖๔๐ กรัม แม่มีประวัติน้ำเดิน ๒ วันก่อนคลอด หลังคลอดหมอบอกว่าเป็นการแท้งลูก ทารกไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ ญาติจึงนำทารกน้อยใส่กล่องออกจากโรงพยาบาล เตรียมการประกอบพิธีศพ เรื่องของเด็กหญิงกล่องเมื่อถึงบ้านหลังคลอดได้ ๕ ชั่วโมง ญาติพบว่าทารกร้องและยังคงหายใจอยู่ จึงนำทารกน้อยกลับไปที่โรงพยาบาลอีกครั้ง แพทย์รับไว้ดูแลรักษาจนอายุ ๑๒ วัน ...
  • คุณค่าโภชนาการ-อาหารคนไข้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    การให้บริการอาหารคนไข้ เพื่อให้ได้อาหารที่สะอาด มีสารอาหารครบถ้วน พอดีกับความต้องการของร่างกาย และเหมาะสมกับภาวะโรค เป็นงานหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จในการรักษาพยาบาลฝ่ายโภชนาการฝ่ายโภชนาการเป็นหน่วยงานหนึ่งของโรงพยาบาล รับผิดชอบผลิตและให้บริการอาหารคนไข้ ตามหลักโภชนศาสตร์ ดำเนินการเรื่องโภชนบำบัด ครอบคลุมการคัดกรองและดูแลภาวะโภชนาการ ...
  • คนไข้โรคเรื้อรัง การดูแลรักษาและสร้างเสริมสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2555
    คนไข้โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในบ้านเรา ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดที่มีอาการหอบหืดคนไข้โรคเรื้อรังคนไข้โรคเหล่านี้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุข ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการดูแลรักษาคนไข้กลุ่มนี้ เนื่องจากเป็นโรคที่รักษาไม่หายคนไข้จะมีอาการกำเริบ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น เบาหวานอาจเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเฉียบพลัน ...
  • คุณทำได้... ฟื้นฟูสมรรถภาพมือและแขน (ตอนที่ ๔)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่มือและแขน เช่น กระดูกหัก เส้นเอ็นขาด หรือคนที่เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ทำให้มือและแขนอ่อนแรง การฟื้นฟูเพื่อให้สามารถใช้มือและแขนในชีวิตประจำวันได้ มีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้การฝึกบริหารมือและแขนโดยใช้อุปกรณ์ง่ายๆการฝึกความแข็งแรงและความคล่องแคล่วในการใช้มือและแขน โดยการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ใกล้ตัว สำหรับฝึกเองที่บ้าน๑.การขยำและคลี่กระดาษ เพื่อฝึกความแข็งแรง ความคล่องแคล่ว ...
  • คุณทำได้... ฟื้นฟูสมรรถภาพมือและแขน (ตอนที่ ๓)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่มือและแขน เช่น กระดูกหัก เส้นเอ็นขาด หรือคนที่เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ทำให้มือและแขนอ่อนแรง การฟื้นฟูเพื่อให้สามารถใช้มือและแขนในชีวิตประจำวันได้ มีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้การบริหารเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อการบริหารหัวไหล่การบริหารหัวไหล่ข้างที่ปวดหรือข้างที่ไหล่ติด โดยใช้ยางยืดหรือขวดใส่น้ำเป็นแรงต้าน ทำท่าละ ๑๐-๓๐ ครั้ง ต่อ ๑ รอบ ทำ ๒ ...
  • หลายชีวิต คนไข้จิตเวช

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ประสบการณ์การดูแลคนไข้จิตเวช โดยทีมผู้ให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชของโรงพยาบาลชุมชนเล็กๆ แห่งหนึ่งในภาคอีสาน ที่สะท้อนความคิดที่มีคุณค่าทั้งของผู้ให้การรักษาและของคนไข้สิทธิที่หายไปคนไข้จิตเวชหญิงวัยกลางคน หายออกจากบ้าน ญาติต้องออกตามหาและมาพบเธอที่เมรุเผาศพ ญาติพาเธอมารักษาที่โรงพยาบาล และเล่าให้พยาบาลผู้รักษาฟังว่า เธอชอบหนีออกจากบ้านเป็นประจำ ...
  • จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชีววิถี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    โรงพยาบาลชุมชนขนาด ๓๐ เตียง แห่งหนึ่งในภาคเหนือ เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการใช้สารเคมีทำลายเชื้อโรคที่มีผลกระทบต่อระบบน้ำเสีย เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ป่วยและชาวบ้านใกล้เคียง ชุมชนโดยรอบใช้สารเคมีทำการเกษตร และพื้นที่ว่างเปล่าของโรงพยาบาลปลูกพืชไม่ได้ผล เพราะดินไม่มีคุณภาพน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ไขปัญหานอกจากปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมแล้ว โรงพยาบาลยังประสบปัญหาด้านการเงิน ...
  • คุณทำได้... ฟื้นฟูสมรรถภาพมือและแขน (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่มือและแขน เช่น กระดูกหัก เส้นเอ็นขาด หรือคนที่เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ทำให้มือและแขนอ่อนแรง การฟื้นฟูเพื่อให้สามารถใช้มือและแขนในชีวิตประจำวันได้ มีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้หลักการฟื้นฟูสมรรถภาพทางมือและแขนเพื่อลดอาการบวม ควรยกแขนและมือสูงกว่าระดับหัวใจเสมอเพื่อกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ ควรเริ่มบริหารมือและแขนเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ถ้ามือมีอาการชาหรือไม่มีความรู้สึก ...
  • อยู่ดี กินดี มีสุขภาพดี มีความสุข

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    การทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับชุมชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ประชาชนอยู่ดี กินดี สุขภาพดี มีความสุขสุขภาพดีเริ่มที่บ้านการรักษาคนไข้ที่โรงพยาบาลเป็นปลายทางของการดูแลสุขภาพ หากไม่มีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี ไม่มีการป้องกันการเจ็บไข้หรือการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ คนไข้ต้องเข้าๆ ออกๆ โรงพยาบาล จนหมอและพยาบาลมีงานล้นมือ ...
  • พยาบาลของชุมชน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    ลูกหลานของคนในชุมชน ที่ได้รับเลือกและให้ทุนไปเรียนพยาบาล เรียนจบกลับมาทำงานที่บ้านเกิด เป็นพยาบาลชุมชน เป็นที่พึ่งของญาติพี่น้อง และเป็นความหวังใหม่ของระบบสุขภาพไทยพยาบาลขาดแคลน การแพทย์และการสาธารณสุขของไทยพัฒนาด้านวิชาการและเทคโนโลยีสู่ระดับนานาชาติ ประกอบกับการปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการและการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa