Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ศ.นพ.ประเวศ วะสี

ศ.นพ.ประเวศ วะสี

  • สร้างสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัคร ให้เต็มแผ่นดิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    สร้างสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัคร ให้เต็มแผ่นดินหมอชาวบ้านฉบับนี้ นำชีวิต-งาน-ทรรศนะ ของ พ.ท.สรศักดิ์ รอดโต ผู้ที่อ่านนิตยสารหมอชาวบ้าน ฉบับที่ 1 แล้วเกิดแรงบันดาลใจที่จะช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ได้เป็นอาสาสมัครอยู่ที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ที่นั่นปัจจุบันมีอาสาสมัครเพื่อผู้ป่วย 76 คนในสังคม ไม่ว่าจะมีองค์กรหรือสถาบัน มากเท่าใด ก็จะมีช่องว่างอยู่เสมอ เช่นที่ ...
  • ร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลกธรรมสัญจรสู่มูลนิธิพุทธฉือจี้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    ร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลกธรรมสัญจรสู่มูลนิธิพุทธฉือจี้(เขียนเมื่อ 23 ตุลาคม 2549)2 ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนมูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวันที่เราสัญจรไปเรียนรู้นั้นเป็นองค์กรและขบวนการที่ใหญ่โตมีสมาชิกประมาณ 5 ล้านคน มีอาสาสมัครประมาณ 300,000 คน มีกิจการกว้างใหญ่ไพศาล คือมีอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยที่ไปได้ทั่วโลก เช่น เมื่อคราวมหันตภัยสึนามิก็เข้ามาช่วยเหลือ หรือมีแผ่นดินไหวในจีนแผ่นดินใหญ่ก็ไป ...
  • การออกกำลังป้องกันโรคกระดูกพรุน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    การออกกำลังป้องกันโรคกระดูกพรุนในปัจจุบันมีคนเป็นโรคกระดูกพรุนกันมาก เพราะขาดการออกกำลัง กระดูกที่อยู่เฉยๆ จะพรุน แต่ถ้าต้องรับน้ำหนักหรือถูกดึงจะไปกระตุ้นเซลล์สร้างกระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอบลาสต์ (osteoblast) ให้ทำงานหญิงสูงอายุในเมืองจะเป็นโรคกระดูกหักง่าย โดยเฉพาะที่ข้อสะโพก แต่พวกย่า พวกยาย ตามท้องไร่ท้องนากระดูกแข็งไม่หักง่าย สมัยนี้มีการใช้ฮอร์โมนบ้าง แคลเซียมบ้าง ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๒๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    บนเส้นทางหนังสือ (๒๑)ฉบับที่แล้วเริ่มต้นบทที่ ๑๕ ว่าด้วยเรื่อง "คุณค่าพื้นฐานทางจิตวิญญาณ"ในฐานะชาวพุทธ ระบบการปฏิบัติทางจิตวิญญาณของท่านทะไล ลามะ มีลักษณะพิเศษที่เป็นพุทธ...หมอคัตเลอร์จึงถามท่าน ดังต่อไปนี้..."ท่านจะกรุณากล่าวถึงประโยชน์ของการปฏิบัติจิตตภาวนาดังกล่าวต่อชีวิตประจำวัน ได้ไหมครับ" หมอคัตเลอร์ขอร้องท่านทะไล ลามะท่านทะไล ลามะ เงียบไปพักใหญ่แล้วตอบว่า ...
  • เด็ก เยาวชน และครอบครัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    เด็ก เยาวชน และครอบครัวครอบครัวเป็นสถาบันทางสังคมที่สำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวอบอุ่น คือ พ่อ แม่ ลูก มีเวลาอยู่ด้วยกันมากๆ และอยู่ด้วยกันด้วยดี ทุกคนจะมีความสุขอย่างยิ่ง ในสังคมวัตถุนิยม บริโภคนิยม และเงินนิยม ที่ทุกอย่างเร่งรีบ ตัวใครตัวมัน ไม่มีใครมีเวลาที่จะเอาใจใส่ใคร และวิถีทางเศรษฐกิจปัจจุบันที่ไม่คำนึงถึงสังคม ก็ทำให้ครอบครัวอ่อนแอลงหรือถึงแตกสลาย ครอบครัวควรจะเป็นอู่ที่มนุษย์รู้สึกอบอุ่น ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๒๐)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    บนเส้นทางหนังสือ (๒๐)ภาคที่ ๕ ตอนสุดท้ายการสะท้อนความหมายถึงการมีชีวิตบนวิถีทางจิตวิญญาณบทที่ ๑๕คุณค่าพื้นฐานทางจิตวิญญาณศิลปะแห่งความสุขมีองค์ประกอบหลายอย่าง อย่างที่เราเห็นมันเริ่มจากการสร้างความเข้าใจถึงสาเหตุที่แท้จริงของความสุข แล้วต้องให้ความสำคัญกับการสร้างเหตุแห่งความสุข ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างวินัยภายในจิตใจของตน เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ถอนรากสภาวะทางจิตที่ทำลายความสุข ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๙)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    บนเส้นทางหนังสือ (๑๙)คราวที่แล้วท่านทะไล ลามะ ถามหมอคัตเลอร์ว่าการเกลียดตัวเองเกิดขึ้นได้ อย่างไรหมอคัตเลอร์จึงอธิบายจิตวิทยาของการเกลียดตัวเองให้ท่านฟังอย่างสั้นๆ เขาอธิบายว่า มโนภาพของตัวเองก่อรูปขึ้นจากบิดามารดาและการเลี้ยงดู ซึ่งจะบอกเป็นนัยให้เรารู้ว่าเราเป็นคนอย่างไร หมอคัตเลอร์ได้ชี้ให้เห็นสภาวะบางอย่างที่ทำ ให้เรามีภาพทางลบเกี่ยวกับตัวเราเอง และกล่าวถึงปัจจัยที่ทำให้เกลียดตัวเอง ...
  • คนที่รักแม่ จะเป็นคนโชคดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    คนที่รักแม่ จะเป็นคนโชคดีหมอชาวบ้านฉบับต้นเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๙ ตรงกับเดือนแห่งวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ผู้ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นแม่แห่งชาติ หมอชาวบ้านขอถวายพระพรให้ทรงพระเกษมสำราญและมีพระชนมายุยิ่งยืนนานแม่เป็นจิตวิญญาณแห่งความรักอันบริสุทธิ์ แม่รักลูกโดยปราศจากเงื่อนไข ไม่ว่าลูกจะเป็นอย่างไรๆ จะดีหรือเลว จะเก่งหรือไม่เก่ง หรืออายุเท่าใดๆ ...
  • วัดกับสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    วัดกับสุขภาพกรกฎาคมเป็นเดือนแห่งวันเข้าพรรษา ทำให้คิดถึงพระสงฆ์และวัดกับสุขภาพ เรามีวัดทั่วประเทศกว่า ๓๐,๐๐๐ วัด และมีพระสงฆ์รวมกันกว่า ๒๕๐,๐๐๐ รูป หลักธรรม บุคลากร และสถานที่ทางพุทธศาสนาเป็นทรัพยากรอันมโหฬารของสังคมไทยเพื่อการพัฒนา การพัฒนาสมัยใหม่ที่เป็นวัตถุนิยม-บริโภคนิยม-เงินนิยม นำความเครียดอันใหญ่หลวงมาสู่มวลมนุษย์ทุกหมู่เหล่าโดยทั่วตลอด ความเครียดนำไปสู่โรคต่างๆ เช่น ความดันเลือดสูง ...
  • บนเส้นทางหนังสือ (๑๘)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    บนเส้นทางหนังสือ (๑๘) หลังจากการสนทนากับท่านทะไล ลามะ ในตอนที่แล้วไม่นาน หมอคัตเลอร์ได้ร่วมกินอาหารกลางวันกับคนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีเด็กหนุ่มคนหนึ่งไม่เคยเจอมาก่อน หนุ่มคนนี้เป็นนักศึกษาในวิทยาลัยแห่งหนึ่งในท้องถิ่น ระหว่างกินอาหารอยู่นั้น มีคนถามขึ้นว่าการสนทนาของเขากับท่านทะไล ลามะ เป็นอย่างไรบ้าง เขาก็เลยเล่าให้ฟังถึงการเอาชนะความวิตกกังวล หนุ่มคนนั้นนั่งฟังถึงแนวความคิดที่ว่า ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa