Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » รศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์

รศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์

  • เจ็บเพราะงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 13 พฤษภาคม 2523
    เจ็บเพราะงาน รูปที่ ...
  • ข้อเคลื่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 12 เมษายน 2523
    ข้อเคลื่อน คนที่ใส่รองเท้าส้นสูง ถ้าเดินไม่ระวังหรือเดินไม่เป็น ข้อจะพลิกง่ายๆ เมื่อข้อพลิก พอลุกขึ้นมาก็เดินไม่ไหวเพราปวดข้อ ต่อมาจะมีอาการบวม มากน้อยสุดแต่การบาดเจ็บและการอักเสบเนื่องจากการบาดเจ็บเมื่อข้อพลิก เอ็นหุ้มข้อ ซึ่งทพหน้าที่ยึดข้อไม่ให้หลุดออกจากกันจะขาด (ดูรูปที่ 1) ถ้าพลิกไม่มาก อาจขาดเล็กน้อย มีเลือดออกมาบ้าง เรียกว่า “ข้อแพลง” ถ้าพักการใช้ข้อนั้นเสียสัก 2-3 วัน ...
  • ชัก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 11 มีนาคม 2523
    ชักอาการชักจากไข้สูงเคยมีแพทย์อาวุโสผู้หนึ่งเล่า ให้ผู้เขียนฟังว่า เมื่อหลายสิบปีมาแล้วครั้งแต่ครั้งยังอยู่บางลำภู ลูกของตัวเองอายุสักขวบครึ่งเห็นจะได้ เป็นไข้และชักขึ้นมา อารามที่ตกใจมาก อุ้มลูกวิ่งออกมาจนถึงสี่แยก แล้วจึงนึกขึ้นได้ว่า จะวิ่งออกมาทำไมนี่ ขนาดเป็นหมอเองแท้ๆ เมื่อลูกมีอาการชักยังตกใจได้มากจนถึงขนาดนี้ ถ้าคนอย่างเราๆ ท่านๆ จะทำยังไงเด็กเล็ก คือ อายุตั้งแต่ยังไม่ถึงขวบจนถึงสามขวบ ...
  • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกระดูกสันหลังหัก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 10 กุมภาพันธ์ 2523
    การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักเหตุเกิดหลายปีมาแล้ว แต่ยังเกิดซ้ำขึ้นได้อีกเสมอ มีทหารอากาศหนุ่มแน่นทั้งนั้น อายุไม่เกิน 22-23 ปี 3-4 คน ช่วยกันโค่นต้นไม้ใกล้สนามบินเชียงใหม่ บังเอิญต้นไม้ล้มลงมาทับกลางหลังทหารหนุ่มคนหนึ่งเข้าล้มลงเพื่อนๆ ช่วยกันยกต้นไม้ออกไป ทหารหนุ่มพยายามจะยันกายลุกขึ้นยืน แต่เจ็บหลังมาก ลุกไม่ไหว เพื่อนจึงอุ้มผู้ป่วย (ดูรูปที่ 1) ขึ้นรถมาโรงพยาบาลเมื่อถึงโรงพยาบาล ...
  • อุบัติเหตุในเด็ก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 9 มกราคม 2523
    อุบัติเหตุในเด็กเวลาประมาณ 2 ทุ่มครึ่ง มีเสียงกริ่งโทรศัพท์ดังที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอก ตึกอุบัติเหตุ ผู้พูดเป็นหญิง ฟังน้ำเสียงดูรู้สึกว่าไม่มีเรื่องตกใจอะไรมากนัก“ลูกดิฉันค่ะ แกกินมดเข้าไป ดิฉันเลยให้แกกิน ดี.ดี.ที. เข้าไปช้อนชาหนึ่ง คิดว่าคงพอนะคะ ตอนนี้จะให้ดิฉันทำอะไรต่อไปไหมคะ”ฟังดูเหมือนเรื่องตลก แต่เป็นเรื่องจริง ที่เกิดขึ้นมาสักศตวรรษละครั้งเด็กกินมด สตางค์ น็อต ตะปู กระดาษ ฯลฯ ...
  • ‘อย่าตายก่อนกำหนด’

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 8 ธันวาคม 2522
    ‘อย่าตายก่อนกำหนด’ สามีของพยาบาลคนหนึ่งที่หน่วยอุบัติเหตุ เป็นวิศวกร อายุเพิ่งจะ 26 วันหนึ่งไปแก้เครื่องสูบน้ำ ถูกไฟฟ้าดูดและถึงแก่กรรมทันทีนักเรียนเล่นน้ำกันในสระว่ายน้ำ อยู่ๆ เพื่อนก็มาสังเกตเห็นว่าหายไปคนหนึ่ง มองหาดูพบว่าจมอยู่ก้นสระ งมเอาขึ้นมาช่วยกันไปตามมีตามเกิด เด็กคนนั้นก็เสียชีวิตในที่สุดชายผู้หนึ่งถูกยิงที่ขาหนีบ ญาติรีบนำส่งโรงพยาบาล แต่หนทางมันไกล ขณะมาเลือดออกมาก ...
  • งูกัด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 7 พฤศจิกายน 2522
    งูกัด (ต่อจากครั้งที่แล้ว)การดูลักษณะงู การจำแนกว่างูชนิดใดมีพิษ ชนิดใดไม่มีพิษ บางทีทำได้ยาก ถ้าเราพบงูเห่าที่กำลังแผ่แม่เบี้ย เราบอกได้แน่ว่าเป็นงูพิษ แต่ถึงกระนั้นก็ตาม ในระหว่างงูมีพิษด้วยกันเราก็อาจต้องรู้ว่าเป็นงูอะไร ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการรักษาผู้ถูกงูกัด เพราะยาแก้พิษงู (ซีรั่ม) นั้น ทำมาเฉพาะแต่ละชนิด การให้ยาแก้พิษงูชนิดหนึ่งอาจไม่มีผลเลยเมื่อถูกงูอีกชนิดหนึ่งกัด ...
  • งูกัด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 6 ตุลาคม 2522
    งูกัดงูเป็นสัตว์ที่คนทั่วไปกลัวมากที่สุด เพราะความเชื่อถือที่เล่าต่อๆ กันมาถึงพิษ และความพยาบาทของงู รูปร่างและลวดลายตลอดจนการเคลื่อนไหวที่ปรูดปราด ล้วนสร้างความไม่ไว้วางใจระหว่างคนกับงูมากขึ้น บางคนเพียงแต่เห็นงูก็แทบช็อคแล้ว แท้จริงงูในโลกนี้มีมากกว่า 3,000 พันธุ์ จำแนกเป็นชนิดต่างๆ ได้กว่า 13,000 ชนิด แต่เป็นงูพันธุ์ที่มีพิษอยู่เพียง 500 กว่าชนิดเท่านั้นเอง ...
  • บาดแผล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 5 กันยายน 2522
    บาดแผลเมื่อเร็วๆ นี้มีผู้ป่วยชายอายุ 34 ปี ส่งมาจากโรงพยาบาลจันทบุรี เนื่องจากถูกยิงที่ขาหนีบด้านซ้ายมา 2 วัน ขณะนี้แผลเริ่มอักเสบ และขาซ้ายเริ่มเย็น ผู้ป่วยมีไข้ ได้รับไว้รักษาทันที โดยการทำความสะอาดแผล ซ่อมเส้นเลือดที่ขาดเพราะกระสุนปืน ผู้ป่วยฟื้นตัวได้ดีและกลับไปบ้านนานแล้ว ป่านนี้คงทำสวนทุเรียนตามอาชีพเดิมก่อนป่วยได้อย่างเรียบร้อยดีเรื่องของเรื่องก็คือ ชายคนนี้เดินไปหาเห็ด และหน่อไม้ในป่า ...
  • บาดแผลไฟไหม้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    บาดแผลไฟไหม้เราคงประสบกับผิวหนังถูกความร้อนจนไหม้พองกับตัวเองมาแล้ว ถ้าพอทนได้ ปล่อยทิ้งไว้ มันก็หายไปเอง ถ้าเป็นมากกินบริเวณกว้างประกอบไฟที่ร้อนจัด หรือความร้อนนั้นถูกกับผิวหนังอยู่นานจนเป็นแผลลึกปล่อยไว้ไม่ได้ มักไม่หายเอง อาจมีโรคแทรกซ้อน ซึ่งทำให้ทุพลภาพ หรือมากจนกระทั่งเสียชีวิตได้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผิวหนังผิวหนังของคนเรา โดยทั่วๆ ไป จะหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa