ผศ.พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
กรณีศึกษาแพทย์ชายอายุ 28 ปี เพิ่งเรียนจบแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ได้ไปสมัครเข้าทำงานในตำแหน่งแพทย์เฉพาะทางแบบเต็มเวลากับโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เมื่อตกลงการปฏิบัติงานและได้รับการว่าจ้างแล้ว แพทย์รายนี้ได้ตรวจผู้ป่วยตรงตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมทางการแพทย์ ให้เวลากับการอธิบายและพูดคุยกับผู้ป่วยอย่างละเอียด สั่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างระมัดระวังตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์. หลังจากทำงานครบ 2 ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
แพทย์หลายคนคงรู้สึกกระอักกระอ่วนเมื่อต้องพูดถึงความตายกับผู้ป่วย กลัวผู้ป่วยจะคิดว่าหมอพูดจาไม่เหมาะสม ทำให้สะเทือนใจ เหมือนไปทักให้เสียกำลังใจ ต่างๆ นาๆ เหล่านี้ ดังนั้นในหลายครั้งเมื่อแพทย์ต้องสื่อข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ จึงรู้สึกลำบากใจและพยายามเลี่ยงที่จะพูดความจริง. แพทย์หลายคนออกแนวบิดเบือนความจริง เพราะเกรงว่าผู้ป่วยจะรับความจริงไม่ได้ ...
-
วารสารคลินิก
269
พฤษภาคม 2550
ในกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคที่หมดหวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่มีอาการระยะสุดท้าย จะมีอาการที่พบบ่อยซึ่งก่อความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยและญาติได้มาก คือ อาการคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งพบบ่อยถึงร้อยละ 50-70 ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
Caregiver guide for the last hours of lifeญาติควรดูแลอย่างไร เมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ช่วงสุดท้ายของชีวิต เนื่องจากบทความตอนที่แล้วได้ยกตัวอย่างการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้ายในฐานะแพทย์ผู้ดูแล แต่ทีมผู้ดูแลที่สำคัญคือญาติสนิทมิตรสหายที่มีความผูกพันกับผู้ป่วยมาอย่างยาวนาน สภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างกายก่อนผู้ป่วยจากไปตามธรรมชาติอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและติดใจว่ายังรักษาพยาบาลไม่ถึงที่สุดหรือไม่ ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
กรณีศึกษานายแพทย์อายุ 35 ปี มีพฤติกรรมชอบดื่มสุราจนเมามายมาตั้งแต่เริ่มทำงานใช้ทุนในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง. ภาพที่ผู้คนเห็นเป็นประจำคือดื่มสุราจนเมาหลับทั้งชุดแพทย์อยู่กับยามหน้าโรงพยาบาล พอเช้าก็งัวเงียลุกไปอาบน้ำ ก่อนจะขึ้นมาตรวจผู้ป่วยบนตึกด้วยหน้าตาแดงก่ำ มีกลิ่นสุราประจำตัว ดื่มเบียร์แทนน้ำ พกเบียร์กระป๋องติดเสื้อกาวน์ประจำ ตรวจผู้ป่วยไปกระดกเบียร์ไป ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
บุคลากรทางการแพทย์ส่วนใหญ่คุ้นชินกับการพบเห็นความตาย (death) แต่ไม่ค่อยชินกับกระบวนการตาย (dying process) การเรียนรู้ที่จะดูแลอาการที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการตายจึงเป็นเรื่องใหม่และท้าทายสำหรับบุคลากรทางการแพทย์.คนส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 90 เสียชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไป มีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ที่เสียชีวิตแบบกะทันหัน ผู้คนส่วนใหญ่จึงมักเคยมีประสบการณ์พบเห็นอาการของผู้ป่วย ในช่วงสุดท้ายของชีวิต ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
-
วารสารคลินิก
263
พฤศจิกายน 2549
อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรงเป็นอาการพบบ่อย ที่สำคัญ และเรียกได้ว่าเป็น "ไม้เบื่อไม้เมา" ในเวชปฏิบัติ เพราะพบได้ทั้งคนทั่วไปและคนที่ป่วยเป็นโรค แพทย์ส่วนใหญ่มักรู้สึกไม่ยินดีที่จะดูแลอาการดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่พบสาเหตุโรคชัดเจนเมื่อไม่พบโรคทางกาย ก็มักจะเข้าใจว่าเป็นโรคทางใจ และละเลยที่จะสนใจในรายละเอียดความทุกข์ทรมานลักษณะนี้ "ไปนอนซะ ...
-
วารสารคลินิก
262
ตุลาคม 2549
"หมอคะ คนไข้กินไม่ได้เลย ผอมลงเรื่อยๆ หมอช่วยใส่ท่ออาหารให้แกด้วยเถอะค่ะ" นี่คงเป็นคำขอร้องที่แพทย์หลายคนไม่อยากได้ยิน โดยเฉพาะในผู้ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้าย แต่เพราะแพทย์ไม่เคยได้เรียนรู้ที่มาที่ไปของการเกิดอาการเหล่านี้ จึงมีหลายคนที่เข้าใจผิดและทำตามที่ญาติขอร้องไปก่อน และไม่สามารถหยุดการให้อาหารทางท่ออาหารหรือทางหลอดเลือดได้ในที่สุด ...
-
วารสารคลินิก
260
สิงหาคม 2549
กรณีศึกษาหญิงอายุ 24 ปี ตั้งครรภ์แรก อายุครรภ์ 35 สัปดาห์ (คำนวณด้วย LMP และอัลตราซาวนด์) มาตรวจช่วงหัวค่ำที่โรงพยาบาลชุมชนเพราะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด. แพทย์เวรประเมินแล้วพบว่ามดลูกบีบตัวถี่อาจจะคลอดก่อนกำหนดได้ จึงให้ terbutaline (Bricanyl ® ) หยอดเข้าเส้น เพื่อระงับการเจ็บครรภ์คลอด (ผลอัลตราซาวนด์ในช่วงฝากครรภ์เคยพบว่ามีภาวะรกเกาะต่ำแบบ placenta previa partialis). หลังจากให้ยาได้ประมาณ 2 ...