Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ » โรคหัวใจ

โรคหัวใจ

สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ

  • กินแคลเซียมเสี่ยงต่อโรคหัวใจหรือไม่
  • การตรวจสุขภาพก่อนหมดสภาพ : คัดกรองความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ดูทั้งหมด
  • ลดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 356 ธันวาคม 2551
    โรคหัวใจและหลอดเลือดกำลังคุกคามสุขภาพคนไทยอย่างหนัก โรคหัวใจคร่าชีวิตชาวไทยชั่วโมงละ 5 คน ผู้คนทั่วโลกตายนาทีละ 33 คน ต้นเหตุที่เป็นชนวนก่อเกิดของโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่สำคัญที่สุดคือ โรคน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วน เพราะการกินกับการใช้พลังงานไม่สมดุลกันประเทศไทยได้กำหนดเป้าหมายหลักเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือดไว้ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550-2554 ...
  • หัวใจของเรา(ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เรื่องนี้เขียนจากประสบการณ์เพื่อเป็นอุทาหรณ์สำหรับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะสูงวัยแล้วหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจนั้นไม่เลือกเพศเลือกวัย แต่จะกล่าวถึงเฉพาะโรค "หลอดเลือดหัวใจตีบตัน" ซึ่งเกิดกับตัวเองจนต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลศิริราชฉบับที่แล้วได้เล่าถึงที่มาที่ไปของอาการต่างๆ ที่เกิดกับตัวเองจนกระทั่งต้องไปทดสอบสมรรถภาพร่างกายและการฉีดสีเอกซเรย์ ...
  • คนไทย "บริโภคอาหารขยะ"Žเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    ปัจจุบันประชากรโลกกำลังประสบปัญหาทางสุขภาพสำคัญเกี่ยวกับโรคในกลุ่มที่เรียกว่า โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (non-communicable chronic diseases) จากการวิเคราะห์สภาวะสุขภาพของประชากรโลก โดยประเมินจากดัชนีภาระโรค ทั้งในแง่การตายก่อนวัยอันควร และภาระของการเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ของประเทศในการดูแลและรักษาโดยรวมแล้วพบว่า สาเหตุการเจ็บป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรโลก ยังคงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ...
  • อัมพาต โรคหัวใจ : ป้องกันได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 276 เมษายน 2545
    เมื่อไม่นานมานี้ ได้พบและพูดคุยกับคุณดอน สอนระเบียบ ดารานักร้องชื่อดัง ซึ่งเคยทราบข่าวว่าป่วยเป็นอัมพาต ผมรู้สึกประหลาดใจและยินดีที่เห็นคุณดอนกลับฟื้นคืนความแข็งแรงและทำงานได้เหมือนเดิมผมได้เอ่ยปากให้หมอชาวบ้านได้สัมภาษณ์เรื่องราวของคุณดอน ซึ่งเขาก็ยินดีเพื่อเป็นบทเรียนแก่คนทั่วไปนี่คือที่มาของบทสัมภาษณ์ที่ได้ตีพิมพ์ในฉบับนี้ จึงขอขอบคุณคุณดอน มา ณ โอกาสนี้สภาวะหลอดเลือดแข็งและตีบ ...
  • เด็กเป็นโรคหัวใจได้หรือเปล่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 274 กุมภาพันธ์ 2545
    พัชรา /กรุงเทพฯ : ผู้ถามดิฉันมีความสงสัยว่า ในเด็กอายุ5 ขวบ ที่อ้วนมาก เวลานอนจะมีเสียงหายใจดังมาก เหมือนหายใจไม่ค่อยสะดวก (ไม่ใช่เสียงวีดของอาการหอบ) เวลาวิ่งจะเหนื่อยเร็ว เหงื่อออกง่าย ตัวเย็น มีโอกาสที่จะเป็นโรคหัวใจได้ไหม เพราะไม่แน่ใจว่าเป็นโรคหัวใจได้ไหม ...
  • แอสไพริน – แก้โรคหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 เมษายน 2531
    น.พ.สันต์ หัตถีรัตน์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ยาแอสไพรินสามารถช่วยสำหรับโรคหัวใจชนิดเดียวเท่านั้นคือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไม่สามารถป้องกันภาวะหัวใจวายจากโรคหัวใจอื่นๆได้แต่ข่าวที่ออกมาทางสื่อมวลชนทั่วไปหรือการโฆษณาของบริษัทยา มักจะใช้คำว่า “หัวใจวาย” อันที่จริงหัวใจวายเกิดจากโรคหัวใจได้หลาย ...
  • โรคหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 เมษายน 2531
    โรคหัวใจมีหลายประเภท ที่สำคัญก็คือ โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหัวใจรูห์มาติก โรคเหน็บชา โรคหัวใจอักเสบ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม และโรคหัวใจซึ่งเกิดจากโรคอื่น เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคซีด โรคต่อมธัยรอยด์ เป็นต้นตามสถิติกระทรวงสาธารณสุข โรคหัวใจเป็นสาเหตุสำคัญของการตายอันดับต้นๆของประเทศโรคหัวใจที่สำคัญที่สุดคือโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ซึ่งมีสถิติเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ...
  • เป็นโรคหัวใจรักษาตัวอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    น.พ.สาโรช รัตนากร หัวหน้ากองวิชาการ สำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร เผยว่า ปัจจุบันคนกรุงเทพฯป่วยด้วยโรคหัวใจเป็นอันดับหนึ่งในบรรดาโรคไม่ติดต่อทั้งหลาย กทม.ได้ตระหนักถึงสวัสดิภาพของประชาชนเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพอนามัยดังนั้น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจควรป้องกันการเป็นโรคหัวใจโดยกินอาหารพอดี ครบทุกหมู่ ไม่มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุเกิน 40 ปี ไม่ควรกินเนื้อสัตว์มาก ถึงแม้ว่าจะเป็นเนื้อสันนอก สันใน ...
  • โรคหัวใจ / หัวใจอ่อน / ประสาทอ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    “คุณหมอ ช่วยตรวจดูว่าดิฉันเป็นโรคหัวใจหรือเปล่าคะ? เพราะไปตรวจตามคลินิกหลายแห่งแล้ว บางคนก็ว่าดิฉันเป็นโรคหัวใจอ่อน บางคนก็ว่าดิฉันเป็นโรคประสาทอ่อน เป็นมาปีกว่า หมดเงินไปก็มากแล้ว...”“เอายังงี้ดีไหม ลองช่วยเล่าอาการที่เป็นให้หมอฟังก่อนดีไหม? ”ผู้หญิงสาวเล่าว่าตัวเองมีความรู้สึกเหนื่อยง่าย ใจสั่น กลางคืนนอนไม่ค่อยหลับ มักคิดโน่นคิดนี่ ใจคอไม่ค่อนสบาย ...
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa