Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ

ป้ายคำ

  • คนไข้โรคเรื้อรัง การดูแลรักษาและสร้างเสริมสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2555
    คนไข้โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในบ้านเรา ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดที่มีอาการหอบหืดคนไข้โรคเรื้อรังคนไข้โรคเหล่านี้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุข ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการดูแลรักษาคนไข้กลุ่มนี้ เนื่องจากเป็นโรคที่รักษาไม่หายคนไข้จะมีอาการกำเริบ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น เบาหวานอาจเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเฉียบพลัน ...
  • หยุดหวาน-มัน-เค็ม หยุดยั้งโรคเรื้อรัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2555
    การกินอาหารนอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ทำให้เรารู้สึกอิ่มและมีพลังในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ แล้ว ยังมีผลต่อสุขภาพระยะยาวของเราด้วย อาหารหวาน-มัน-เค็ม ส่งผลร้ายต่อสุขภาพโดยเฉพาะถ้ากินปริมาณมากอย่างต่อเนื่องเป็นประจำอาหารหวาน-มัน-เค็ม เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ที่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง ...
  • ยิ้มสู้กับมหาอุทกภัย ด้วย “หลัก ๔ อ.”

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ท่ามกลางมหาอุทกภัยปี ๒๕๕๔ ที่สร้างความโกลาหล ความเดือดร้อน ความทุกข์กังวล ภาวะขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภค เราจำเป็นต้องรักษาชีวิตและสุขภาพด้วยสติ (รู้ทัน) ปัญญา (รู้รอบ)ในที่นี้ ขอนำเสนอแนวทางปฏิบัติ “หลัก ๔ อ.” ได้แก่ อาหาร ออกกำลัง อารมณ์ และอันตราย ที่เหมาะกับสถานการณ์น้ำท่วมดังกล่าวโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรักษาใจ (อารมณ์) ให้แจ่มใส มีพลัง ก็จะสามารถมีสติปัญญากำกับอีก ๓ อ. ...
  • โรคจากภัยน้ำท่วม : วิธีป้องกันและรักษาเบื้องต้น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    โรคติดต่อทางเดินหายใจ : ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบอาการสำคัญมีอาการไข้ (ตัวร้อน) เจ็บคอ มีน้ำมูก ไอสำหรับไข้หวัดใหญ่ มักมีอาการปวดเมื่อยมากและเบื่ออาหารร่วมด้วยสำหรับปอดอักเสบ มักมีอาการไอมีเสมหะเหลืองหรือเขียว เจ็บหน้าอก หายใจหอบร่วมด้วยวิธีป้องกันดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานาน ไม่สวมเสื้อผ้าที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ ...
  • การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ อัมพาต หืด ถุงลมปอดโป่งพอง ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคเลือด โรคความจำเสื่อม โรคจิต ควรปฏิบัติดังนี้ผู้ป่วยที่นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ ผู้ป่วยที่ต้องล้างไตทางเลือดหรือทางช่องท้อง ต้องให้เลือดหรือฉีดยารักษา (เช่น เคมีบำบัด) บ่อย หรือต้องไปพบแพทย์บ่อย (ทุก ๑-๒ สัปดาห์) ...
  • “โรงพยาบาลสนาม” โมเดล เจ็บป่วย ทุกข์ยาก... เราช่วยได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    “หนีร้อนมาพึ่งเย็น” เป็นคำกล่าวที่น่าจะเหมาะสมที่สุดสำหรับการมาพักอาศัยในศูนย์อพยพมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมแห่งนี้ เพราะนอกจากจะเย็นกายแล้วก็ยังสุขใจอีกด้วย อาหารการกินก็พร้อมเสร็จสรรพ ครั้นเจ็บป่วยก็มีหมอคอยดูแล คอยรักษาอยู่ไม่ห่าง...ทว่าน้ำท่วมครั้งนี้เหมือนเป็นบทพิสูจน์จากฟ้า ที่ประทานความทุกข์ยากลงมาให้ได้รู้ว่ายังมีคนดีที่สามารถพึ่งพิงได้ คราบน้ำตาของผู้ประสบภัย ...
  • วัคซีนไข้หวัดใหญ่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ถาม : กนกพร/เพชรบูรณ์การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่เหมาะกับกลุ่มใด แล้วทุกคนต้องฉีดหมดหรือไม่ตอบ : นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุลส่วนใหญ่เราจะฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ แล้ว หลังฉีดแล้ว ๑ เดือน ก็สามารถรับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด ๓ สายพันธุ์ได้ ข้อดีคือจะกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ ให้มากขึ้น รวมทั้งยังป้องกันเชื้อไข้หวัดใหญ่ได้อีก ๒ สายพันธุ์ ...
  • ติดเชื้อในกระแสเลือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ถาม : ปรางทิพย์/กาญจนบุรีพ่อดิฉันป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่แล้วติดเชื้อในกระแสเลือด คุณหมอได้ให้ยาฆ่าเชื้อจนอาการเป็นปกติ จึงอยากทราบรายละเอียดของการติดเชื้อในกระแสเลือดค่ะตอบ : นพ.อมร ลีลารัศมีการติดเชื้อในกระแสเลือด เป็นโรคที่มีอัตราการตายสูงมาก และตายอย่างรวดเร็วถ้าหากได้รับการรักษาไม่ทันท่วงที เพราะเลือดคือองค์ประกอบหลักของร่างกายไหลไปอวัยวะทุกส่วน ...
  • คุณพ่อมือใหม่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ถาม : ปรีชา/ชลบุรีภรรยาผมตั้งครรภ์ได้ ๓ เดือนแล้วครับ ในฐานะคุณพ่อมือใหม่อย่างผม ต้องทำตัวอย่างไรบ้างครับตอบ : นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์เมื่อมีการตั้งครรภ์ คุณแม่ส่วนมากก็มักจะไปฝากครรภ์กับคุณหมอที่ตัวเองสะดวกและไว้วางใจให้คุณหมอช่วยดูแลสุขภาพของตัวเองและลูกน้อยในครรภ์ ซึ่งเป็นการดูแลทางด้านการแพทย์มากกว่า ...
  • ป้องกันฟันสึก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ถาม : ชลดา/เลยต้นเหตุของฟันสึกคืออะไร แล้วมีวิธีป้องกันฟันสึกอย่างไรบ้างคะตอบ : ทพญ.วิมลพรรณ สุระวดีสาเหตุของฟันสึกมักเกิดจากแรงบดเคี้ยวที่ผิดปกติ เช่น ชอบกินอาหารแข็ง กัดน้ำแข็ง หรือนอนกัดฟันรุนแรง นอกจากนี้การกินอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรด จำพวกอาหารรสเปรี้ยว น้ำอัดลม ไวน์ และการแปรงฟันที่ผิดวิธี แปรงฟันแรงๆ หรือใช้แปรงสีฟันที่มีขนแข็งก็ทำให้เคลือบฟันสึกได้เช่นกันลักษณะการสึกของฟันที่พบบ่อยๆ มี ๒ ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • 16
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa