Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ

ป้ายคำ

  • ๗ คำถาม “ตาต้อ”

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    “ตาต้อ” เป็นกลุ่มของโรคตา “ต้อ” ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ฉบับนี้ มาทำความรู้จัก “ตาต้อ” กันดีกว่า๑.โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไรตอบ คำว่าต้อเป็นคำทั่วไปหมายถึงตา ดังนั้น เมื่อบอกว่าเป็นโรคต้อ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นโรคต้อชนิดใด ที่พบบ่อยๆ และควรทราบ เรียงลำดับตามความรุนแรงจากน้อยไปมาก ดังนี้๑.โรคต้อลม (Pinguecular)มีลักษณะเป็นเยื่อสีขาวหรือขาวเหลืองบริเวณตาขาวข้างๆ ตาดำ ...
  • อยู่ดี กินดี มีสุขภาพดี มีความสุข

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    การทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับชุมชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ประชาชนอยู่ดี กินดี สุขภาพดี มีความสุขสุขภาพดีเริ่มที่บ้านการรักษาคนไข้ที่โรงพยาบาลเป็นปลายทางของการดูแลสุขภาพ หากไม่มีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี ไม่มีการป้องกันการเจ็บไข้หรือการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ คนไข้ต้องเข้าๆ ออกๆ โรงพยาบาล จนหมอและพยาบาลมีงานล้นมือ ...
  • โรคกรดไหลย้อนมั่วๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัจจุบันยาลดกรดในกระเพาะอาหารขายดีเป็นเทน้ำเทท่า ส่วนใหญ่มีการโฆษณากันอย่างแพร่หลาย พร้อมกันนั้นก็เกิดโรคกรดไหลย้อนแพร่ระบาดไปทั่ว แม้แต่ชาวบ้านที่ห่างไกลความเจริญก็พบว่ามีไม่น้อยที่ต้องกินยาลดกรดอย่างแรงเป็นประจำ เพราะแพทย์สั่งให้และบอกว่าเป็นโรคนี้ แต่พอให้ผู้ป่วยอธิบายว่าโรคกรดไหลย้อนคืออะไรและมีอาการอย่างไร ทำไมต้องกินยาแบบนี้ ตัวผู้ป่วยเองก็มักจะตอบไม่ได้โรคกรดไหลย้อน (GERD) คือ ...
  • โรคผิวหนังกับการแพทย์ทางเลือก ตอนที่ ๕ งานวิจัยสมุนไพรไทยกับโรคผิวหนัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    การแพทย์ทางเลือกกับโรคผิวหนัง (ตอนจบ)งานวิจัยสมุนไพรไทยและข้อแทรกซ้อนจากการใช้สมุนไพรงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพรไทยรักษาโรคผิวหนังมีงานวิจัยการใช้สมุนไพรหลายชนิดที่พิสูจน์ว่าได้ผลดีในการรักษาและป้องกันโรคผิวหนัง ได้แก่สารสกัดจากพญายอ (เสลดพังพอน) รักษาเริมและงูสวัดสารสกัดกระเทียม รักษาโรคกลากและเกลื้อนสารสกัดจากน้อยหน่า รักษาเหาสารสกัดจากผักบุ้งทะเล ...
  • ปัญหาการนอนหลับ (ตอนที่ ๖) นอนดึกตื่นสาย ทำลายภูมิคุ้มกันร่างกาย (熬夜, 睡懒觉, 会降低免疫力)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    หลังจากตรากตรำงานหนักมาตลอด ๕ วัน ต้องตื่นเช้าไปทำงาน หรือเรียนหนังสือ ดังนั้น พอถึงวันศุกร์-เสาร์ ชีวิตของคนทำงานหรือคนในเมืองส่วนใหญ่ก็จะพักผ่อน ดูโทรทัศน์ ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ต นัดสังสรรค์ เที่ยวกลางคืนจนดึกดื่นเลยเที่ยงคืน แล้วนอนเต็มที่ วันรุ่งขึ้นตื่นนอนตอนสาย บางคนเลยเที่ยงวันไปก็มี ไม่ต้องกินมื้อเช้าน่าเป็นห่วงว่าเด็กสมัยนี้จำนวนมากมีวิถีชีวิตแบบนี้ โดยเฉพาะเด็กมหาวิทยาลัย ...
  • ครูบพิตร ศรีแสง เศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้น เพราะเลิกบุหรี่ เลิกเหล้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    บางคนอยู่กับการดื่มเหล้าสูบบุหรี่มาครึ่งค่อนชีวิต จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตไปแล้ว การจะตัดขาดในสิ่งที่อยู่กับตัวเองมานาน คงเป็นเรื่องยาก และลำบากแน่นอน แต่ครูบพิตร ศรีแสง กลับหักดิบเหล้าและบุหรี่ทีใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันมา ๒๐ กว่าปี ได้อย่างน่าทึ่งครูบพิตร ศรีแสง อายุ ๕๑ ปี ครูโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ดื่มเหล้าและสูบบุหรี่มานาน ตั้งแต่ ม.ศ.๕ ...
  • ครอบครัว “เป็นเอกชนะศักดิ์” ชีวิตคิดบวก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    เมื่อต้นเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรากฏข่าวใหญ่บนหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์ หลังจากน้องธันย์-ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ ประสบอุบัติเหตุพลัดตกรางรถไฟฟ้าที่ประเทศสิงคโปร์จากอุบัติเหตุดังกล่าวทำให้น้องธันย์ต้องตัดขาทั้ง ๒ ข้างทิ้ง ด้วยความที่ยังเด็กต้องเจอกับเรื่องใหญ่ในชีวิต คนรอบข้างต่างคาดว่า น้องธันย์คงจะรับกับเหตุการณ์สูญเสียสิ่งสำคัญไม่ได้ แต่ต้องแปลกใจ ...
  • รังนก ทรรศนะแพทย์แผนจีน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    "การโฆษณาสรรพคุณรังนกและกินกันแบบผิดๆ ...
  • รังนก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    เชื่อกันว่าชาวจีนนิยมกินรังนกกันมานานกว่า ๒,๐๐๐ ปี ซึ่งแพทย์จีนจะเขียนใบสั่งยาโดยมีรังนกเป็นส่วนผสมด้วย เพราะเชื่อว่ารังนกสามารถรักษาโรคทางเดินหายใจ บำรุงสุขภาพเด็กที่ไม่แข็งแรงปัจจุบันคนเอเชียส่วนหนึ่งใช้รังนกเป็นยาบำรุงปอดและเลือดฝาด ใช้บำรุงกำลังเด็ก ...
  • นอนตื่นสายทำลายภูมิคุ้มกันร่างกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัญหาการนอนหลับ (ตอนที่ ๖)นอนดึกตื่นสาย ทำลายภูมิคุ้มกันร่างกาย(熬夜, 睡懒觉, 会降低免疫力)หลังจากตรากตรำงานหนักมาตลอด ๕ วัน ต้องตื่นเช้าไปทำงาน หรือเรียนหนังสือ ดังนั้น พอถึงวันศุกร์-เสาร์ ชีวิตของคนทำงานหรือคนในเมืองส่วนใหญ่ก็จะพักผ่อน ดูโทรทัศน์ ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ต นัดสังสรรค์ เที่ยวกลางคืนจนดึกดื่นเลยเที่ยงคืน แล้วนอนเต็มที่ ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 14
  • 15
  • 16
  • 17
  • 18
  • 19
  • 20
  • 21
  • 22
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa