Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เก็บข่าวมาฝาก

เก็บข่าวมาฝาก

  • สื่อการเรียนรู้ BBL พัฒนาไอคิวเด็กไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    เด็กไทยโง่ลง เพราะสมองได้รับการกระตุ้นน้อยและไม่ถูกวิธี ในช่วงแรกเกิดถึง ๖ ขวบ สถาบันวิทยาการการเรียนรู้ (สวร.) จัดประชุมเรื่อง "สื่อการเรียนรู้แบบ BBLในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา" โดยมี ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย รองผู้อำนวยการสถาบันวิทยาการการเรียนรู้ และนายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการการเรียนรู้ เป็นผู้บรรยายดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย กล่าวว่า ...
  • โรคมนุษย์ตึก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    คนที่ทำงานใช้เวลามากกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาใน แต่ละวันอยู่ในอาคารสำนักงาน รวมถึงอาคารอื่นๆ ด้วย มีโอกาสเป็นโรคมนุษย์ตึกองค์การอนามัยโลกคาดว่าร้อยละ ๓๐ ของอาคาร ทั่วโลกอาจมีปัญหาด้านสุขภาพอากาศภายในอาคาร ซึ่งนำไปสู่ปัญหากลุ่มอาการที่เกิดจากการทำงานในอาคารปิดได้สำหรับปัจจัยที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการที่เกิดจากการทำงานในอาคารปิด ...
  • ทำอย่างไร เมื่อต้องดูแลผู้ป่วย อัมพฤกษ์ อัมพาต

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    อัมพฤกษ์ อัมพาต คือภาวะที่สมองขาดเลือดหรือเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ส่งผลให้การทำงานของสมองหยุดชะงัก ซึ่งผลที่ตามมาก็คือจะมีอาการอ่อน แรงด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้ง ๒ ด้าน พูดไม่ได้หรือพูดลำบาก กลืนอาหารลำบาก สำลักหรือกินอาหาร เองไม่ได้อาจมีอาการสับสนในการสื่อสารและอื่นๆสาเหตุของโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเกิดจากหลอดเลือด สมองตีบ การอุดตันของหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดสมองแตก สาเหตุอื่นๆ เช่น อุบัติเหตุ ...
  • การประชุมเภสัชกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    เครือข่ายองค์กรวิชาชีพเภสัชกรรมได้จัดการประชุมเภสัชกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ (3rd Thailand Pharmacy Congress) เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ นายพินิจ จารุสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า การประชุมเภสัชกรรมแห่งชาติครั้งที่ ๓ น่าจะสามารถทำให้เภสัชกรรมของประเทศไทยได้พัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง โดยการบริการสุขภาพระบบใหม่นั้นจะเป็นการบริการสุขภาพแบบบูรณาการที่เป็นองค์รวม ...
  • ออกกำลังกายเป็นยาวิเศษ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ทางสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ได้จัดแถลงข่าวเปิดตัวหนังสือ "ออกกำลังกายเป็นยาวิเศษ" ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง "กีฬาเป็นยาวิเศษ" เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๘ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประกิต วาทีสาธกกิจ กล่าวว่า "การใช้ชีวิตที่ไม่ค่อยมีการเคลื่อนไหวร่างกาย ...
  • การพัฒนาเด็กด้วยการอ่าน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    สมาคมไทสร้างสรรค์ได้จัดงานแถลงข่าวและนำกสนอผลการดำเนินงานของโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยในชนบทด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือให้เด็กฟังศ.นพ.เกษม วัศนชัย องคมนตรีและประธานมูลนิธิเพื่อหนังสือเพื่อเด็ก กล่าวว่า ชุมชนใด ครอบครัวใด ประเทศใด ที่ต้องการจะให้พลเมืองมีปัญญาดีและมีความรู้จะต้องให้ความสำคัญหลายอย่างเช่นประการที่ ๑ ตองให้ความสำคัญกับเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาประการที่ ๒ ...
  • ปวดหลังตรวจ...รักษาได้ด้วยตนเอง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    อาการปวดหลัง เป็นปัญหาที่พบบ่อยมากซึ่งอาการปวดหลังพบได้เป็นอันดับสองของอาการปวดร่างกาย ทั้งนี้รองมาจากอาการปวดหัว และเป็นสาเหตุของการหยุดงานของคนวัยแรงงานที่พบมากเป็นอันดับสองรองจากโรคหวัด สาเหตุของการปวดหลังมีอยู่ ๓ ข้อ คือ ๑.จากอุบัติเหตุ เช่น การก้มยกของหนักทำให้เกิดการปวดหลังรุนแรง ๒.จากโรค เช่น มะเร็ง โรคไต ...
  • คู่มือจ่ายตลาดอลอดจีเอ็มโอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ประเทศไทยกับจีเอ็มโอ* จนถึงวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้ปลูกพืชจีเอ็มโอเพื่อการค้า และยังมีมติคณะรัฐมนตรี สั่งระงับการทดลองปลูกพืชจีเอ็มโอระดับไร่นา* ประเทศไทยนำเข้าวัตถุดิบจำนวนมากเพื่อใช้ผลิตอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งถั่วเหลือง ซึ่งนำเข้าจากสหรัฐอเมริกาและอาร์เจนตินามากที่สุด (ทั้งสองประเทศนี้เป็นผู้ผลิตและส่งออกถั่วเหลืองจีเอ็มโอรายใหญ่ที่สุดในโลก โดยร้อยละ ...
  • สเต็มเซลล์กับผู้ป่วยและงานวิจัย ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ชี้แจงความคืบหน้าเรื่อง "การใช้สเต็มเซลล์กับผู้ป่วยและงานวิจัยกับสถานการณ์ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้"ศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ บุณยะรัตเวช เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่าประเทศไทยมีผลงานวิจัยด้านสเต็มเซลล์ในระดับเทียบเคียงกับประเทศอื่นๆ จากทั้งหมด ๒๔ ประเทศ คุณสมบัติของสเต็มเซลล์มี ๓ ประการ คือ๑. แบ่งตัวเพิ่มจำนวน (แบ่งตัวได้หลายๆ ครั้ง) ...
  • เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่คุกคามสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมของผู้ป่วย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    โรคเบาหวานสามารถพบได้ในคนทุกเพศและวัย คนในเมืองมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานมากกว่าคนในชนบท แต่ในคนอ้วนและหญิงลูกดกมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้มากขึ้นศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เทพ หิมะทองคำ กล่าวว่า โรคเบาหวานสามารถแบ่งได้เป็น ๒ ชนิดใหญ่ๆ ดังนี้๑. เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน พบได้น้อยแต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง ส่วนใหญ่พบในเด็กและคนที่อายุน้อยกว่า ๓๐ ปี ตับอ่อนของผู้ป่วยสร้างอินซูลินไม่ได้เลยหรือได้น้อย ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • เมดดี้ คอร์เนอร์
  • เรารักสุขภาพ
  • เรียนจากลูกรัก
  • เรียนรู้จากข่าว
  • เรียนรู้สู้เอดส์
  • เรียนรู้เรื่องของเล่น
  • เรียนรู้เรื่องเพศ
  • เรียนรู้โรคโดยช่วยกันถาม
  • เรียนหมอจากภาพ
  • เรื่องจริงจากการใช้ยา
  • เรื่องน่ารู้
  • เรื่องวุ่นๆ ของคุณผู้หญิง
  • เรื่องเด่นจากปก
  • เล่าสู่กันฟัง
  • เล่าสู่กันฟัง (บุคคลสำคัญทางการแพทย์)
  • ‹‹
  • 12 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa