-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
352
สิงหาคม 2551
คนจำนวนไม่มากนักจะมี "โอกาส" ได้เข้าไปอยู่ในห้อง "ไอซียู" (Intensive Care Unit - ICU - หรือ "หอผู้ป่วยวิกฤติ" สำหรับคนจำนวนหนึ่ง ห้องไอซียู คือ "ห้องนอนสุดท้าย" ของชีวิต แต่คนอีกจำนวนหนึ่งก็กลับออกมาใช้ชีวิตปกติต่อไปได้ และฉบับที่แล้วพูดถึงการเตรียมตัวผ่าตัดและพักฟื้นอยู่ในห้องไอซียูวันที่ยาวนานที่สุด (11 กันยายน)วันนี้ไม่ง่วงและพยายามไม่หลับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
351
กรกฎาคม 2551
คนจำนวนไม่มากนักจะมี "โอกาส" ได้เข้าไปอยู่ในห้อง "ไอซียู" (Intensive Care Unit - ICU - หรือ "หอผู้ป่วยวิกฤติ") สำหรับคนจำนวนหนึ่ง ห้องไอซียู คือ "ห้องนอนสุดท้าย" ของชีวิต แต่คนอีกจำนวนหนึ่งก็กลับออกมาใช้ชีวิตปกติต่อไปได้ผมเป็นหนึ่งในจำนวนคนกลุ่มหลังนี้ และเห็นว่า "ประสบการณ์ชีวิตจากห้องไอซียู" คงเป็นประโยชน์ที่จะนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
350
มิถุนายน 2551
เรื่องนี้เขียนจากประสบการณ์เพื่อเป็นอุทาหรณ์สำหรับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะสูงวัยแล้วหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจนั้นไม่เลือกเพศเลือกวัย แต่จะกล่าวถึงเฉพาะโรค "หลอดเลือดหัวใจตีบตัน" ซึ่งเกิดกับตัวเองจนต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลศิริราชฉบับที่แล้วได้เล่าถึงที่มาที่ไปของอาการต่างๆ ที่เกิดกับตัวเองจนกระทั่งต้องไปทดสอบสมรรถภาพร่างกายและการฉีดสีเอกซเรย์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
349
พฤษภาคม 2551
เรื่องนี้เขียนจากประสบการณ์เพื่อเป็นอุทาหรณ์สำหรับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะสูงวัยแล้วหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจนั้นไม่เลือกเพศเลือกวัย แต่จะกล่าวถึงเฉพาะโรค "หลอดเลือดหัวใจตีบตัน" ซึ่งเกิดกับตัวเองจนต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลศิริราชผลจากการผ่าตัดดังกล่าว นอกจากได้หัวใจที่ดีกลับคืนมาแล้ว ยังมีความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นอีกว่าประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
ติดต่อทางลำไส้ไม่ใช่ทางลมหายใจ ผู้ป่วยบางรายเกิดการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ ทำให้หายใจลำบากและเสียชีวิตได้ จึงมีการคิดค้นวัคซีนชนิดกิน หรือ Oral Polio Vaccine (OPV) ขึ้นมาซึ่งสะดวกและทำให้มีภูมิคุ้มกันที่ลำไส้ไขสันหลังของคนเราถ้าตัดในแนวขวางจะเห็นว่ามี ๒ ส่วนคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
323
มีนาคม 2549
ทั่วโลกมีคนที่เสียชีวิตจากมาลาเรียประมาณ ๑ ล้านคนต่อปี แต่วัณโรคคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า ๒ ล้านคนต่อปีรู้จักวัณโรควัณโรค (Tuberculosis : TB) เป็นโรคที่พบมานานแล้ว มักเป็นภายในครอบครัว สมัยก่อนจึงเชื่อว่าถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกหลาน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๐๘ นักวิทยาศาสตร์ถึงพบว่ามันเป็นโรคติดต่อ ผู้ที่เป็นโรคนี้จึงถูกสังคมรังเกียจต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๒๕ Robert Koch ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
322
กุมภาพันธ์ 2549
คุณคิดว่า "อะไรทำให้สิ่งมีชีวิตแตกต่างจากก้อนหิน?"คำตอบคือดีเอ็นเอ (DNA) นั่นเอง เรื่องนี้ค่อนข้างยาวและอธิบายยากแต่ผมก็ยังอยากเล่าให้ฟังตั้งแต่สมัยฮิปโปคราตีส (Hippocrates) แล้วที่มีบันทึกว่าลูกหลานจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย แต่ไม่มีใครทราบว่าเป็นเพราะอะไรจนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๐๙ Gregor Mendel พระนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย ทำการศึกษาการถ่ายทอด ลักษณะต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
321
มกราคม 2549
ปัจจุบันคงไม่มีใครไม่รู้จักโคเลสเตอรอล (cholesterol) เพราะขณะนี้มีบทบาทในชีวิตคนเราเป็นอย่างมากโคเลสเตอรอลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๓๑๒ โดย Poulletier de la Salle ซึ่งได้บรรยายสารที่มีลักษณะแข็งสีขาวเป็นองค์ประกอบของนิ่วในถุงน้ำดีแต่ยังไม่มีชื่อเรียก โคเลสเทอรีนจนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๕๙ Michel Eugene Chevreul ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือโรคเอดส์ เพิ่งจะมีการค้นพบมา ๒๐ กว่าปี และทั่วโลกต่างหวาดกลัว เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้ ภูมิคุ้มกันบกพร่องก่อนอื่นคงต้องพูดถึงปี พ.ศ. ๒๔๕๒ Carlos Ribeiro Justiniano Chagas แพทย์ชาวบราซิล ค้นพบเชื้อที่ตอนนั้นคิดว่าเป็นโปรโตซัวชื่อ Pneumocystis carinii ซึ่งก่อโรคปอดบวม(Pneumonia) ในหนูและคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Immunodeficiency) โรคปอดบวมนี้เรียกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
เมื่อพูดถึงโรคเบาหวานชนิดที่ ๑ แพทย์ทุกคนคงตอบได้ว่าต้องใช้อินซูลินในการรักษา ที่ทราบก็เพราะอาจารย์สอนมาอย่างนั้น แล้วอาจารย์รู้ได้อย่างไร? ก็อาจารย์ของอาจารย์สอนมาอีกทีไง อ้าว! แล้วใครล่ะที่เริ่มเป็นคนแรก? ฟังดูน่าสนใจนะครับศตวรรษที่ ๑ Aulus Cornelius Celsus และ Araetus บันทึกไว้ว่า พบผู้ป่วยมีอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและผอมลง แต่ไม่ทราบว่าเป็นโรคอะไร ต่อมาศตวรรษที่ ๑๗ Thomas Willis ...