Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เรื่องเด่นจากปก

เรื่องเด่นจากปก

  • สตีรอยด์... อันตรายจริงๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 399 กรกฎาคม 2555
    สตีรอยด์คืออะไรสตีรอยด์เป็นการเรียกชื่อกลุ่มสารอินทรีย์ที่มีสูตรโครงสร้างทางเคมีคล้ายๆ สารกลุ่มคอเลสเตอรอล ซึ่งพบได้หลายชนิดในร่างกายกลุ่มที่เราให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือกลุ่มฮอร์โมนที่ร่างกายสร้างมาจากต่อมหมวกไตชั้นนอก เพื่อควบคุมการใช้พลังงานในร่างกาย ปรับสภาวะของร่างกายจากความเครียด จากการเจ็บป่วย หรือติดเชื้อบาดเจ็บ เรียกสารกลุ่มนี้ว่าคอร์ติโคสตีรอยด์ ซึ่งร่างกายต้องการในปริมาณไม่มากนัก ...
  • ยาสตีรอยด์กับสุขภาพตา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 399 กรกฎาคม 2555
    ยากลุ่มคอร์ติโคสตีรอยด์หรือที่เรียกสั้นๆ ว่ากลุ่มสตีรอยด์ เป็นยาที่สังเคราะห์ขึ้นจากฮอร์โมนชนิดหนึ่งในร่างกาย มีหลายประเภท เช่น เดกซ์ซาเมทาโซน เพร็ดนิโซโลน ฟลูออโรเมทาโลน เป็นต้น ยาออกฤทธิ์ลดการอักเสบและกดภูมิต้านทาน โดยมีผลต่อหลายระบบในร่างกาย จึงถูกนำมาใช้รักษาอาการอักเสบในโรคต่างๆ อย่างแพร่หลาย ซึ่งรูปแบบการบริหารยามีทั้งในรูปยากิน ยาฉีด ยาพ่น ยาหยอดและยาป้ายในทางจักษุวิทยา ...
  • นม... พระเอกหรือผู้ร้าย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 398 มิถุนายน 2555
    เป็นที่ทราบกันดีว่า นมเป็นแหล่งของสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายหลายชนิด เช่น แคลเซียม วิตามินบี ๒ วิตามินดี อีกทั้งเป็นแหล่งของโปรตีนคุณภาพดี จึงทำให้นมนั้นเป็นอาหารที่ถูกคัดเลือกให้บรรจุอยู่โภชนบัญญัติและธงโภชนาการกระทรวงสาธารณสุขแนะนำคนไทยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย โดยเด็กที่กำลังเจริญเติบโตและวัยรุ่น ปริมาณที่พอเหมาะคือ ดื่มวันละ ๒-๓ แก้ว ส่วนผู้ใหญ่ดื่มวันละ ๑-๒ แก้ว ...
  • 6-6-6 กลยุทธ์กดปุ่มสมองไว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 397 พฤษภาคม 2555
    การเคลื่อนไหวร่างกาย 6 จังหวะ มีรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการเต้นรำที่เป็นระเบียบชัดเจน มีองค์ประกอบการเต้น ดังนี้1. จังหวะที่ใช้ประกอบการเคลื่อนไหวร่างกายใช้ 6 จังหวะ ได้แก่ บีกิน, วอลซ์, ซา-ซ่า, ช่า-ช่า-ช่า, แซมบ้า และ รุมบา ในแต่ละจังหวะจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่แตกต่างกันโดยใช้ร่างกายทุกส่วนประกอบการเคลื่อนไหว2. รูปแบบการเต้นรำ มีหลายรูปแบบ ...
  • ยาตีกัน... อันตราย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 394 กุมภาพันธ์ 2555
    คำถาม ยาตีกัน คืออะไร ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร?ยิ่งใช้ยามากชนิด ก็จะยิ่งเพิ่มยาตีกันทุกวันนี้มียาให้เลือกใช้มากกว่าในอดีตเป็นอันมาก ชนิดของยานับวันจะมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้มีทางเลือกให้แพทย์ได้สั่งจ่ายยาที่มีความเฉพาะเจาะจงและเหมาะสมกับผู้ป่วยมากขึ้น ทั้งยังครอบคลุมการรักษาโรคให้กว้างยิ่งขึ้นท่ามกลางการค้นพบยาใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันผู้ป่วยก็มีโอกาสใช้ยาจำนวนมากขึ้นเช่นกัน ...
  • หยุดหวาน-มัน-เค็ม หยุดยั้งโรคเรื้อรัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2555
    การกินอาหารนอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ทำให้เรารู้สึกอิ่มและมีพลังในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ แล้ว ยังมีผลต่อสุขภาพระยะยาวของเราด้วย อาหารหวาน-มัน-เค็ม ส่งผลร้ายต่อสุขภาพโดยเฉพาะถ้ากินปริมาณมากอย่างต่อเนื่องเป็นประจำอาหารหวาน-มัน-เค็ม เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ที่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง ...
  • ยิ้มสู้กับมหาอุทกภัย ด้วย “หลัก ๔ อ.”

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ท่ามกลางมหาอุทกภัยปี ๒๕๕๔ ที่สร้างความโกลาหล ความเดือดร้อน ความทุกข์กังวล ภาวะขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภค เราจำเป็นต้องรักษาชีวิตและสุขภาพด้วยสติ (รู้ทัน) ปัญญา (รู้รอบ)ในที่นี้ ขอนำเสนอแนวทางปฏิบัติ “หลัก ๔ อ.” ได้แก่ อาหาร ออกกำลัง อารมณ์ และอันตราย ที่เหมาะกับสถานการณ์น้ำท่วมดังกล่าวโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรักษาใจ (อารมณ์) ให้แจ่มใส มีพลัง ก็จะสามารถมีสติปัญญากำกับอีก ๓ อ. ...
  • โรคจากภัยน้ำท่วม : วิธีป้องกันและรักษาเบื้องต้น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    โรคติดต่อทางเดินหายใจ : ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบอาการสำคัญมีอาการไข้ (ตัวร้อน) เจ็บคอ มีน้ำมูก ไอสำหรับไข้หวัดใหญ่ มักมีอาการปวดเมื่อยมากและเบื่ออาหารร่วมด้วยสำหรับปอดอักเสบ มักมีอาการไอมีเสมหะเหลืองหรือเขียว เจ็บหน้าอก หายใจหอบร่วมด้วยวิธีป้องกันดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานาน ไม่สวมเสื้อผ้าที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ ...
  • การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ อัมพาต หืด ถุงลมปอดโป่งพอง ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคเลือด โรคความจำเสื่อม โรคจิต ควรปฏิบัติดังนี้ผู้ป่วยที่นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ ผู้ป่วยที่ต้องล้างไตทางเลือดหรือทางช่องท้อง ต้องให้เลือดหรือฉีดยารักษา (เช่น เคมีบำบัด) บ่อย หรือต้องไปพบแพทย์บ่อย (ทุก ๑-๒ สัปดาห์) ...
  • บัวบกสมองสดใสคืนสู่วัยหนุ่มสาว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.)ชื่อวงศ์ APIACEAEชื่ออื่นๆ บัวบก กะโต่ ผักแว่น ผักหนอกลักษณะทั่วไป พืชล้มลุกขนาดเล็ก อายุหลายปีเลื้อยตามดิน มีไหลเป็นปมเจริญขึ้นเป็นต้นใหม่ได้ ลำต้นยาวถึง ๒.๕ เมตร ใบเดี่ยวเป็นกระจกจากไหล แผ่นใบรูปโล่ เกือบกลม ขอบเป็นคลื่น ดอกเป็นช่อสีเขียว ผลค่อนข้างกลมการขยายพันธุ์ ใช้เมล็ดและไหลบัวบก บำรุงสมอง ป้องกันความชราบัวบก หรือผักหนอก ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa