-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจนว่าเชื้อไข้หวัดนกสามารถติดต่อได้จากคนไปสู่คนการระบาดของไข้หวัดนกการระบาดของไข้หวัดนกเอช ๕ เอ็น ๑ (H5N1) เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ในฮ่องกง ทำให้มีผู้ติดเชื้อ ๑๘ ราย เสียชีวิต ๖ ราย จากสาเหตุไปคลุกคลีกับสัตว์ปีกที่ติดเชื้อไวรัสเอช ๕ เอ็น ๑ ได้เข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และเริ่มพบผู้ป่วยในคนไทยตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
การป้องกันโรคไข้หวัดนก๑. ไข้หวัดนกเป็นโรคติดต่อในสัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ สามารถแพร่เชื้อได้จากน้ำมูก น้ำลาย มูลของสัตว์ที่ป่วยหรือตาย๒. คนติดโรคนี้ได้จากการสัมผัสกับ น้ำมูก น้ำลาย หรือมูลของสัตว์ปีกที่ป่วยหรือตายด้วยโรคไข้หวัดนก๓. ผู้ป่วยโรคไข้หวัดนกจะมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยเนื้อตัว อ่อนเพลีย เจ็บคอ ไอ หายใจลำบาก ปอดอักเสบ๔. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
ปัจจุบันพ่อแม่จำนวนมากเลี้ยงลูกด้วยความรัก แต่ไม่ได้ฝึกฝนให้เด็กมีภูมิต้านทานต่อความทุกข์ เพราะไม่เคยเปิดโอกาสให้ลูกเผชิญต่อปัญหาในระดับที่เหมาะสมต่อวัยวุฒิของเขา เมื่อโตขึ้นจึงขาดทักษะในการจัดการกับปัญหาของชีวิตวัคซีนทางใจ ๓ ประการ ที่ต้องสร้างให้เกิดขึ้นในการเลี้ยงดูของพ่อแม่และการศึกษาจากครูอาจารย์ เป็นไปเพื่อให้เขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความพร้อมในการดำเนินชีวิต ได้แก่ ๑. ความนับถือตนเอง ๒. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
318
ตุลาคม 2548
นอนกรนรักษาได้คุณเคยมีอาการอย่างนี้กันบ้างไหมนอนตื่นสายทั้งๆ ที่เมื่อคืนก็ไม่ได้นอนดึกนอนมาก ตื่นก็สาย แต่ทำไมไม่สดชื่น แถมมีอาการง่วงๆ ซึมๆ อีกต่างหากหงุดหงิด อารมณ์เสียง่าย ความสามารถในการจำลดลงตกบ่ายก็เกิดอาการหาว และอยากนอนไม่ว่าเพศใด วัยใด น้ำหนักขนาดไหน ถ้าหากมีอาการที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกับอาการต่างๆ เหล่านี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
สมองและการเรียนรู้"ปัจจุบันในนานาอารยประเทศมีผลวิจัยทางสมองมากมาย ทำให้เราทราบว่าการพัฒนาสมองนั้นมีผลกระทบมาจากการอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริม การสนับสนุนจากผู้เลี้ยงดู ผู้ปกครอง และพ่อแม่ (ร้อยละ ๔๐-๗๐ ) มากกว่าพันธุกรรม (ร้อยละ ๓๐-๖๐) และทำให้ทราบว่า เด็กที่เกิดมาแล้วถูกทอดทิ้ง ใยประสาทของเซลล์สมองจะเกิดน้อย ทำให้ความฉลาดน้อยและเรียนได้ช้า ทำอะไรไม่ค่อยไว เฉื่อยชา ขาดเหตุผล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
กินตามสี อาหารเพื่อสุขภาพ ๕ สีปัจจุบันประชากรในประเทศตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ไม่ประสบปัญหาการขาดธาตุอาหาร ๕ หมู่ อันได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามินอีกต่อไปแต่ประชากรดังกล่าวก็ยังมีโรครุมเร้าอยู่มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยกลางคนและผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันความดันเลือดสูง โรคข้อเข่าเบาหวาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
เปิดลายแทงแห่ง "ความสุข"ความลับที่คุณต้องรู้ นิตยสารไทม์ เปิดประเด็นที่พลิกกระแสนิยมในโลกยุคใหม่ได้อย่าง "กลับตาลปัตร"นั่นคือการสืบสาวเรื่องราวว่าด้วย"ความสุข" อย่างเจาะลึกถึงแก่นว่า มีที่มาจากไหนกันแน่ พร้อมกับพยายามพิสูจน์ด้วยผลวิจัยจากทั่วโลกว่า คาถา "มีเงินมากก็สุขมาก" นั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
314
มิถุนายน 2548
ผู้หญิงวัยทองกับประโยชน์ของถั่วเหลืองบทความเรื่อง "ผู้หญิงวัยทองกับถั่วเหลือง" นี้ ผู้เขียนหวังว่าจะกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความสนใจอยากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของตนเอง ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของการสร้างเสริมสุขภาพการสร้างเสริมสุขภาพคือกระบวนการที่ช่วยให้ผู้คนสามารถควบคุมและเพิ่มพูนสุขภาพให้กับตนได้"ผู้หญิงวัยทองกับประโยชน์ของถั่วเหลือง" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
312
เมษายน 2548
เจ็บๆในที่นี้หมายถึงสวยแบบบาดใจ แต่ถ้ารู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจ จะกลายเป็นเจ็บตัวและเจ็บใจไปเลยก็ได้ทุกวันนี้เราสามารถพบเห็นวัยรุ่นหนุ่มสาว และคนทำงานทั่วไปมีอะไรแว๊บๆ แปลกปลอมอยู่ ในปากสารพัดสี ไม่ว่าจะเป็นสีเงิน จากเหล็ก สีชมพู แดง เขียว ขาวจากยางตรงบริเวณฟัน เป็นต้นนักเรียน นักศึกษาในหลายสถาบันจะเห็นมีกลุ่มฟันเหล็ก ฟันสารพัดสีจำนวนมาก ซึ่งมีทั้งที่ใส่เพื่อสุขภาพ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
การเล่นเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก"การเล่นเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของพัฒนาการในวัยเด็ก ผู้ใหญ่ต้อง เข้าใจและเห็นคุณค่าการเล่นของเด็ก" การเล่นที่ให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน กระตุ้นการเรียนรู้ ค้นคว้า ท้าทาย จะเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับเด็ก กระตุ้นให้เด็กมีพฤติกรรมรักการเรียนรู้ด้วยตนเอง การแสวงหาประสบการณ์ใหม่ การค้นคว้า ทดลอง ...