-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
ความรัก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ อรรถาธิบายไว้ว่า"รัก (ก.) มีใจผูกพันด้วยความห่วงใย เช่น พ่อแม่รักลูก รักชาติ รักชื่อเสียง มีใจผูกพันด้วยเสน่หา มีใจผูกพันฉันชู้สาว เช่น ชายรักหญิง ชอบ เช่น รักสนุก รักสงบ""ใคร่ (ก.) อยาก, ต้องการ, ปรารถนา"ความรักที่ดีงาม ที่สมหวัง เป็นสิ่งวิเศษสุด สิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่จะเกิดกับคนคนหนึ่งได้ คือการได้มีความรัก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
ผู้ใหญ่มักเตือนสติลูกหลานว่าอย่าชิงสุกก่อนห่าม นั่นคือ การสอนไม่ให้ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัย หรือยังไม่ถึงเวลา ซึ่งมักสอนในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรแล้วเมื่อไหร่คือวัยอันสมควรและเหมาะสมเราท่านควรเข้าใจเรื่องความรัก ความใคร่ของหญิงชายกันก่อนดีไหมความรัก ความใคร่...ชายหญิงไม่เหมือนกันความรักและความใคร่มีความสัมพันธ์กัน เปรียบเสมือนวงกลม ๒ วงที่ซ้อนกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
ขณะนี้ พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยนั้นน่าห่วงมาก เป็นพฤติกรรมที่ขาดความรับผิดชอบ ขาดจิตสำนึกในสิ่งชั่วดี หมกมุ่นในสิ่งที่ชั่วร้ายทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นพนันบอล สื่อลามก เพศสัมพันธ์ เที่ยวเตร่กลางคืน ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยนอกจากนี้ มีสิ่งที่ไม่เหมาะสมรอบตัวเยาวชน อาทิ ลัทธิปัจเจกชนนิยม และสิทธิมนุษยชน อิทธิพลของสื่อ สิทธิมนุษยชน และปัจเจกชนนิยม คือความเป็นตัวของตัวเอง ทำให้หลายๆ คนต่อต้านการควบคุม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
"สระแก้ว" จังหวัดน้องใหม่ (๑๐ ปีที่แล้ว) ติดชายแดนไทย_กัมพูชา ที่แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้วคือ "มะขามป้อม""มะขามป้อม" นอกจากจะเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดแล้ว ยังเป็นต้นไม้มงคลที่มีการกล่าวถึงตั้งแต่สมัยพุทธกาลชาวฮินดูเรียกมะขามป้อมอีกชื่อหนึ่งว่า"อะมะลา" หรือ "อะมะลิกา" ตามพุทธประวัติกล่าวไว้เช่นเดียวกับมะม่วง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
308
ธันวาคม 2547
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิข้าพเจ้าขอสมาทานในสิกขาบท ตั้งใจที่จะงดเว้นจากการประทุษร้าย สติสัมปฤดี โดยการดื่มสุราและเสพของมึนเมาทุกชนิด อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทนี่คือคำสมาทานศีลข้อที่ ๕ ที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกยึดถือปฏิบัติพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายของคำว่า สุรา เหล้าและแอลกอฮอล์ ดังนี้สุรา : เหล้า หรือน้ำเมาที่ได้จากการกลั่นเหล้า : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
295
พฤศจิกายน 2547
ไตวายเรื้อรัง ป้องกันได้!เมื่อเอ่ยถึงโรคไต คนส่วนใหญ่มักคุ้นเคยกับภาพผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ที่เดิมเรียกชื่อว่า โรค "ไตวายเรื้อรัง"(chronicrenal failure) และเป็นระยะที่ผู้ป่วยใกล้เสียชีวิตญาติพี่น้องของผู้ป่วยอาจมองเห็นภาพผู้ป่วยที่ไตหมดสภาพการทำงาน แล้วต้องประทังชีวิตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
307
พฤศจิกายน 2547
ไวรัสไข้หวัดนกระลอกแรกการระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดนก (avian influenza virus) ที่แพร่ระบาดในกลุุ่มสัตว์ปีกอย่างรวดเร็ว และสามารถติดต่อถึงคนได้นั้น รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุและเด็กมีรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่ามีการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จากสัตว์ปีก หรือไข้หวัดนก ชนิด H5N1 ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ที่ฮ่องกง โดยแพร่ระบาดจากไก่มาสู่คนมีจำนวนผู้ป่วย ๑๘ ราย (ชาย ๘ หญิง ๑๐) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
294
ตุลาคม 2547
จมน้ำ...สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของเด็กไทยจมน้ำเป็นสาเหตุนำการตายในเด็กไทย จากการวิจัยในปี พ.ศ.๒๕๔๒ มีเด็กอายุ ๑-๑๔ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ ๑,๓๘๗ คน คิดเป็นอัตราการตาย ๑๐.๙ ต่อเด็ก ๑๐๐,๐๐๐ คน และคิดเป็นร้อยละ ๔๖.๘ ของการตายจากอุบัติเหตุทั้งหมด คิดเป็นอันดับหนึ่งของการตายทั้งหมด ไม่มีดรคใดทำให้เด็กไทยตามมากเท่ากับการจมน้ำ ตัวเลขนี้คล้านกับที่พบในประเทศรอบบ้านเรา เช่น เวียดนาม จีน เป็นต้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
306
ตุลาคม 2547
GMOs การดัดแปรพันธุกรรมจีเอ็มโออาหาร หนึ่งในปัจจัยสี่เพื่อการดำรงชีพของมนุษย์ มนุษย์ กินอาหารตามธรรมชาติมาหลายศตวรรษแล้ว นั่นคืออาหารที่ปราศจากและ/หรือมีสารเคมีปนเปื้อน แต่อาจไม่ถึงกับก่อให้เกิดอันตรายทันทีมาถึงยุคพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ผ่านพ้นศตวรรษที่ 21แต่ละสถาบันมีการพัฒนาขีดความสามารถ (ทั้งบุคลากรและเครื่องมือในการทำวิจัย) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
293
กันยายน 2547
ภัยเงียบ! จากโรคตับอักเสบไวรัสซีเชื้อไวรัสที่ทำให้ตับอักเสบมีอยู่มากชนิด แต่ที่วงการแพทย์ค้นพบและมีชื่อเรียกแน่นอนแล้ว ก็คือ ไวรัสตับอักเสบชนิดเอ บี ซี ดี จี อี ทีที และเซนไวรัส และทั้งหมดนี้ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในบ้านเรา ได้แก่ ไวรัสชนิดเอ บี และซี แต่ที่ทำให้เกิดตับอักเสบเรื้อรัง และทำลายเซลล์ตับจนเป็นโรคตับแข็งหรือโรคมะเร็งตับ ได้แก่ ไวรัสชนิดบีและซี ...