-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
197
กันยายน 2538
เสียงพูดผิดปกติเสียงพูดผิดปกติ หมายถึง น้ำเสียงของเสียงพูดนั้นผิดไปจากปกติที่เคยเป็น ทำให้ผู้ฟังรู้สึกไม่คุ้นหู อาการเสียงพูดผิดปกติ เช่น เสียงแหบ เสียงแห้ง เสียงขึ้นจมูก เสียงอู้อี้ เสียงสูงไปหรือต่ำไป เสียงหลง เสียงราบเรียบ เสียงดังไปหรือเสียงค่อยไป เสียงห้าว เสียงหอบ เสียงสั่น หรือการที่พูดแล้วไม่มีเสียง เหล่านี้เป็นต้นอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่รู้ตัว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
195
กรกฎาคม 2538
การพูดผิดปกติการพูดไม่ชัด เป็นการเปล่งเสียงพูดออกมาผิดเพี้ยนไปจากการพูดของคนปกติ ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนมากเรามักจะพบในวัยเด็ก ลักษณะของเสียงพูดไม่ชัด เช่นพูด “เฝือ” แทน “เสือ” ผิดเสียงพยัญชนะต้นพูด “กิง” แทน “กิน” ผิดเสียงตัวสะกดพูด “โม๊ะ” แทน “มด” ลดเสียงตัวสะกดพูด “กลินข้าว” แทน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
193
พฤษภาคม 2538
การพูดผิดปกติผู้เขียนได้รับการติดต่อจากกองบรรณาธิการหมอชาวบ้าน ให้ช่วยเขียนบทความเกี่ยวกับการพูดผิดปกติ ก็มีความรู้สึกยินดี และได้ตอบรับไป เพื่อที่จะได้มีโอกาสเผยแพร่ความรู้ทางด้านนี้สู่ประชาชน ที่จริงแล้วความรู้ทางด้านนี้มีมานานแล้ว แต่ไม่แพร่หลายเท่าที่ควร อาจเป็นเพราะว่า คนมักคิดว่าเป็นความผิดปกติที่ไม่ค่อยเป็นอันตรายที่ชัดเจนนัก ไม่ค่อยมีผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันมากมาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
190
กุมภาพันธ์ 2538
ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบาย (ต่อ)เห็นชื่อเรื่องบอกว่า “ต่อ” คุณผู้อ่านอาจจะว่าต่อจากฉบับที่แล้วตรงไหน ความจริงต่อมาจากฉบับที่188 ธันวาคม 2537 เนื่องจากคอลัมน์นี้ผมเขียนสลับกับคุณหมออีกท่านหนึ่ง จึงเป็นฉบับเว้นฉบับครับครั้งก่อนผมได้พูดถึงปฏิกิริยาของช่องปากต่อฟันปลอมชุดใหม่ค้างอยู่ ได้แก่1. ความรู้สึกคับปากคับลิ้น2. น้ำลายออกมาก3. พูดไม่ค่อยชัดฉบับนี้ก็มาต่อข้อ 4 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
โรคในช่องปากกับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสมัยนี้มีคนจำนวนไม่น้อยที่มีปัญหาเรื่องน้ำตาลในเลือดสูง หรือที่เรียกว่าเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคของระบบต่อมไร้ท่อ ทำให้เกิดความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน โดยทั่วไปมักคิดว่าเป็นโรคที่พบในผู้สูงอายุเท่านั้น ที่จริงแล้วพบได้ตั้งแต่ในคนอายุน้อยๆ ไปจนอายุมากๆด้วยโรคนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ ชนิดที่จำเป็นต้องใช้อินซูลิน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
185
กันยายน 2537
เรื่องยุ่งๆเกี่ยวกับฟันมีผู้อ่านบางรายถามปัญหาเข้ามา ซึ่งมีหลายคำถามที่ดูจะเป็นเรื่องธรรมดาๆ แต่ก็น่าสนใจ เพราะเป็นปัญหาที่พบเห็นค่อนข้างบ่อยแต่คนไม่ค่อยให้ความสำคัญนักคำถามที่ดูเหมือนจะไม่น่าเป็นปัญหาก็คือ เป็นคนชอบกัดเล็บ อยากทราบว่าการใช้ฟันกัดเล็บนั้น จะมีผลอย่างไรต่อฟันหรือไม่โดยทั่วไปแล้วฟันเป็นอวัยวะที่แข็งแรงที่สุดของคนเรา การมีนิสัยชอบกัดเล็บนั้น คงจะไม่ทำให้ฟันหักหรือบิ่นเป็นแน่แท้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
การครอบฟัน (ตอนจบ)ในฉบับที่แล้วผมได้เขียนถึงเรื่องการทำครอบฟันไปแล้ว และได้บอกว่าจะเขียนถึงเรื่องวัสดุที่ใช้ในการทำครอบฟัน เพื่อให้คนที่จะทำครอบฟันได้ทราบและสามารถเลือกได้ หรืออย่างน้อยก็มีส่วนในการตัดสินใจร่วมกับทันตแพทย์ที่รักษาท่านก็ยังดีการทำครอบฟันฟันหน้าเราต้องทำการพิจารณาเลือกใช้วัสดุที่มีสีเหมือนธรรมชาติเป็นอันดับแรก เพื่อความสวยงาม ซึ่งมีให้เลือกดังนี้1.พลาสติกหรืออะคริลิก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
183
กรกฎาคม 2537
การครอบฟัน (ตอนที่ 1)หลายท่านคงรู้จักครอบฟัน (crown) หรือเคยทำครอบฟันมาแล้ว ในการทำครอบฟันนั้นมีวัสดุหลายชนิดที่สามารถเลือกใช้ได้ตามความประสงค์ที่แตกต่างกันไป อาจจะเป็นการลำบากที่จะจดจำได้ทั้งหมดสำหรับคนไข้อย่างเราๆท่านๆ บางครั้งบางท่านอาจปล่อยให้เป็นไปตามวิจารณญาณของทันตแพทย์ผู้ให้การรักษาโดยฝ่ายเดียว พูดง่ายๆว่า ตัดปัญหายุ่งยากที่จะต้องขบคิดเอง หรือบางท่านอาจเกรงใจหมอ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
การใช้แสงเลเซอร์กับฟันของเราเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในฉบับเดือนมีนาคม ผมได้เล่าถึงบทบาทของการประยุกต์ใช้แสงเลเซอร์ในงานด้านต่างๆทางทันตกรรมไปบ้างแล้ว ต่อไปจะเป็นรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกการทำงานของแสงเลเซอร์ในบางกรณี เพื่อจะได้พอเห็นภาพและเข้าใจว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
192
เมษายน 2537
เครื่องมือ “กันที่” (กันฟันล้ม)ฉบับนี้เรามาทำความรู้จักเครื่องมือชนิดหนึ่งที่จะต้องใส่ไว้ในปาก ซึ่งคุณพ่อคุณแม่หลายท่านก็คงจะเคยกันมาบ้างแล้ว โดยที่อาจจะยังไม่ค่อยเข้าใจนักว่า ทำไมลูกของตัวจึงต้องใส่เจ้าเครื่องมือนี้ด้วยเครื่องมือนี้เรียกกันว่าเป็นเครื่องมือ “กันที่” ซึ่งก็เรียกตามหน้าที่การงานของมันนั่นเอง เพราะเจ้าเครื่องมือที่ว่านี้ ...