Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » สุขภาพของช่องปาก

สุขภาพของช่องปาก

  • แสงเลเซอร์กับงานทันตกรรม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    แสงเลเซอร์กับงานทันตกรรมเพื่อให้ไปกันได้กับยุคโลกานุวัตร (Globalization) จึงจะขอนำเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในงานทันตกรรมมาเล่าสู่กันฟัง ซึ่งในอนาคตเทคโนโลยีตัวนี้คงจะเข้ามาทีบทบาทในวงการทันตแพทย์มากพอๆ กับที่กำลังแสดงบทบาทในวงการแพทย์อันได้แก่ การผ่าตัดน้อยใหญ่ทั้งหลายในปัจจุบันนี้ สำหรับโอกาสนี้จะขอนำเสนอในลักษณะนำร่องให้พอเห็นภาพกว้างๆ ...
  • สุขภาพฟันกับสิ่งแวดล้อม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    สุขภาพฟันกับสิ่งแวดล้อม ในช่วงที่เพิ่งจะผ่านพ้นปีใหม่มาไม่นานนี้ ท่านผู้อ่านคงจะยังมีความสุขสบายใจมากพอที่จะแบ่งปันไปยังคนอื่นๆ ในสังคม และมีแรงที่จะช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมสังคมของเราให้น่าอยู่มากขึ้น เรื่องที่จะเล่าให้ฟังในครั้งนี้ก็หวังจะให้เป็นการกระตุ้นให้มีการสังเกตสังกาในความผิดปกติก่อนที่จะสายเกินไป เพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและสังคมต่อไปเป็นที่น่ายินดี ก็คือ ...
  • ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 มกราคม 2537
    ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบายฟันปลอมทั้งปากในที่นี้ หมายถึง ฟันปลอมชนิดถอดได้ที่มีโครงหรือฐานเป็นพลาสติก หรือโลหะร่วมกับพลาสติก และมีฟันเป็นพลาสติก ที่เรียกกันว่า full denture ในทางทันตกรรมโดยมากแล้วผู้ที่จะใช้ฟันปลอมแบบนี้ มักจะเป็นผู้สูงอายุที่สูญเสียฟันธรรมชาติไปหมดแล้ว และประสงค์ที่จะได้ฟันปลอมมาทดแทน แทนการใช้เหงือกเคี้ยวอาหารก่อนที่จะไปถึงวิธีการใช้ฟันปลอมชนิดนี้ ...
  • ทางเลือกใหม่ของคนกลัวเข็มฉีดยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ทางเลือกใหม่ของคนกลัวเข็มฉีดยานับจากนี้ไปอีกไม่นานนัก การฉีดยาชาเพื่อทำฟันบางอย่างบางชนิดจะถูกยกเลิกไป เนื่องจากจะมีการนำวิธีการใหม่ ที่ไม่ต้องอาศัยเข็มฉีดยามาใช้ในประเทศไทย โดยเฉพาะในวงการทันตแพทย์ เพื่อทำให้คนไข้ชาได้เช่นเดียวกับการฉีดยาชา เรื่องนี้คงเป็นข่าวดีสำหรับคนที่กลัวการฉีดยาชาอย่างแน่นอนวิธีการใหม่ที่ว่านี้เรียกว่า Dental Electronic Anesthesia แปลว่า ...
  • การชำรุดของฟันปลอม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 176 ธันวาคม 2536
    การชำรุดของฟันปลอมเดือนธันวาคมเวียนมาอีกแล้ว เป็นสัญญาณเตือนว่าอีกไม่ช้าก็จะเข้าสู่ปีใหม่ หลายคนเริ่มมองหาของขวัญของฝากให้แก่บุคคลอันเป็นที่รักใคร่ เคารพนับถือ และตัวเอง สิ่งของที่ผู้ใหญ่วัยปลายหรือเข้าสู่วัยชราบางคนได้ตระเตรียมไว้ให้กับตัวเองออกจะแปลกไปกว่าคนอื่นๆ อยู่บ้าง นั่นคือ การเตรียมฟันปลอมใหม่ผู้อ่านบางท่านอาจนึกขำว่าเอ... มีจริงๆ หรือ เป็นที่สังเกตของตัวเองว่า ในช่วงใกล้ๆ เทศกาลสำคัญ ...
  • การดูแลอนามัยช่องปากของผู้ติดเชื้อเอดส์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    การดูแลอนามัยช่องปากของผู้ติดเชื้อเอดส์วันนี้ผมขอเขียนให้กับเพื่อนผู้โชคร้ายกลุ่มที่ดังที่สุดในโลก นั่นคือ กลุ่มผู้ติดเชื่อเอดส์ หรือเชื้อเอชไอวีที่เราคุ้นหูกันดี โดยมุ่งหมายที่จะให้คำแนะนำบางประการเพื่อนำไปปฏิบัติช่วยเหลือตนเองหรือผู้ใกล้ชิดในการป้องกันหรือบรรเทาความทุกข์จากโรคดังกล่าวได้บ้างไม่มากก็น้อยจากการศึกษาเรื่องการเป็นพาหะของแคนดิดา โคลิฟอร์มและสแตฟีโลค็อกคัส ...
  • เอดส์กับสุขภาพช่องปาก (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เอดส์กับสุขภาพช่องปาก (ตอนจบ)เมื่อครั้งที่แล้ว ท่านผู้อ่านคงได้ทราบอาการผิดปกติในช่องปากที่เกี่ยวกับโรคเอดส์ไปบ้างแล้ว นั่นก็คือ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอดส์หรือกลุ่มที่มีอาการสัมผัสกับเอดส์ จะมีอาการผิดปกติที่แสดงออกในช่องปากได้หลายอย่าง ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น5 กลุ่มใหญ่ๆ โดยกลุ่มที่มีการติดเชื้อรา เชื้อแบคทีเรียนั้นได้กล่าวไปแล้วในครั้งที่ผ่านมาครั้งนี้จะขอพูดต่อถึงกลุ่มอาการอื่นๆ ได้แก่ ...
  • เอดส์กับสุขภาพช่องปาก (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    เอดส์กับสุขภาพช่องปาก (ตอนที่1)เอดส์เป็นโรคที่รู้กันว่ามีอันตรายมากจึงไม่มีใครอยากเป็น เพราะเป็นแล้วตายไม่มีทางรักษา ในปัจจุบันเป็นที่สรุปกันว่าเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ที่เรียกว่า เอชไอวี (HIV) ซึ่งทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายบกพร่องหรือเสียไป โรคนี้ยังมีความน่ากลัวในแง่ที่ว่า ระยะฟักตัวของมันนานถึง5-10 ปี ดังนั้นในผู้ที่เพิ่งได้รับเชื้ออาจไม่มีอาการแสดงออกเลย ...
  • ปวดหัว-ปวดหู ลองย้อนดูฟัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    ปวดหัว-ปวดหู ลองย้อนดูฟันหัวข้อเรื่องนี้เมื่อเห็นแล้วอาจชวนให้เกิดความรู้สึกคล้ายๆ ชื่อหัวเรื่องขึ้นมาก็ได้ แต่ขออย่าเพิ่งท้อใจ ทนอ่านต่อไปอีกหน่อย และเมื่อถึงบางอ้อ ความรู้สึกนั้นก็จะหายไปเอง ท่านที่เคยปวดหัวและ/หรือปวดหูอย่างเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ แม้จะได้รับการรักษากินยาไปหลายครั้งแล้วก็ยังไม่หาย ให้ลองไปพบทันตแพทย์ดู ท่านอาจจะแปลกใจว่า ฟันของท่านเองนั่นแหละเป็นที่มาของอาการปวดดังว่านั้น ...
  • การตั้งครรภ์กับฟันผุ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    การตั้งครรภ์กับฟันผุก่อนที่จะถึงเดือนแห่งวันแม่ คือ เดือนสิงหาคม เราน่าจะมาคุยเรื่องก่อนที่จะเป็นแม่ คือ ภาวะการตั้งครรภ์กันดีกว่า บรรดาคุณผู้ชายก็อ่านได้นะคะ อย่างน้อยก็เก็บไว้เป็นความรู้รอบตัวเผื่อจะมีใครมาปรึกษา เป็นที่พูดกันมานานแล้วว่า ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ลูก1 คน จะต้องเสียฟัน (อย่างน้อย)1 ซี่ เพราะเชื่อว่าทารกในครรภ์จะนำเอาแคลเซียมจากฟันแม่ไปใช้ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa