-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
305
กันยายน 2547
พริกขี้หนู กับปัจจัยเสี่ยง ของโรคหัวใจและหลอดเลือดพริก มีการบันทึกว่าพบครั้งแรกเมื่อประมาณ 7,000 ปี ก่อนคริสตกาลที่ประเทศเม็กซิโก ผู้ค้นพบคือ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ผู้ค้นพบทวีปอเมริกานั่นเองพริก เป็นเครื่องปรุงรสที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในประเทศไทยคนไทยบริโภคพริกเพื่อเพิ่มรสชาติของอาหารมานานหลายชั่วอายุคนแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
303
กรกฎาคม 2547
ขนมเด็ก โฆษณา ปัญหาสุขภาพ และพฤติกรรมการเลี้ยงดูล้วนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ทั้งทางตรงและทางอ้อม การมอง "เด็ก" คือจุดขายสินค้าของผู้ผลิต นักการตลาดและนักทำโฆษณา ทำให้ "เด็ก" ถูกกระทำอย่างต่อเนื่อง...บางรายอ้วนตกเกณฑ์และเป็นเบาหวานชนิดที่2 ตั้งแต่อายุยังไม่ถึง10 ขวบ และรอวันตาย...บางรายผอมตกเกณฑ์ ขาดสารอาหารระยะที่2 สภาพน้องๆ เด็กเอธิโอเปีย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
302
มิถุนายน 2547
สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงามธนนท์ ศุขสุขภาพ ไม่สามารถซื้อหาได้ แต่จะต้องปฏิบัติด้วยตัวเองเพราะสุขภาพเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของแต่ละบุคคล คน100 คนก็มีวิถีชีวิต100 รูปแบบที่แตกต่างกัน ทว่ารูปแบบหรือหลักแห่งการดำเนินชีวิตของบุคคลอื่นนั้น บางสิ่งบางอย่างสามารถถ่ายทอด แนะนำให้เพื่อนพ้องน้องพี่สามารถนำไปปรับใช้ และเกิดผลในทางที่ดีขึ้นต่อสุขภาพ ด้วยข้อจำกัดของเวลา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
301-
พฤษภาคม 2547
เด็กกับอุบัติเหตุจราจรอุบัติเหตุจราจรปัญหาใหญ่ของเด็กไทยผศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์การเดินทางสัญจรเป็นวิถีชีวิตของคนในปัจจุบันทุกประเทศ นักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้นยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์คนแรกคงไม่ได้คิดว่าสักวันหนึ่งสิ่งประดิษฐ์ของเขาจะคร่าชีวิตคนจำนวนไม่ถ้วน กลายเป็นสาเหตุนำการตายของคนทุกเพศวัย ไม่ยกเว้นแม้แต่เด็ก จากการศึกษาการตายของเด็กไทย ในเวลา4 ปี คือ ปี 2542-2545 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
300
เมษายน 2547
โรคพิษสุนัขบ้า อันตรายจากสัตว์ใกล้ตัวเมื่อพูดถึง "โรคพิษสุนัขบ้า" เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าไม่ใช่มีเฉพาะในสุนัขเท่านั้น ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ก็มีเชื้อไวรัสพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีทั้งชนิดที่คนเลี้ยงไว้ใกล้ตัว และเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ที่คนเลี้ยงไว้ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว กระรอกสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ค้างคาว ชะมด หนู ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
300
เมษายน 2547
ดูแลเพื่อนซี้ ๔ ขา ให้ปลอดภัยอย่างไรการดูแลสัตว์และการเมตตาสัตว์เป็นสิ่งที่ดีที่ควรปลูกฝังให้เกิดขึ้นตั้งแต่เยาวัย จึงจะทำให้สัตว์เลี้ยงได้รับการดูแลที่ดีได้ ทว่าความเมตตาอย่างเดียวในท่ามกลางสังคมและสิ่งแวดล้อมปัจจุบันอาจจะไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อสัตว์สี่ขาใกล้ตัว ไม่ว่าจะเป็นหมาหรือแมว ความรักและความรู้เป็นสิ่งที่ต้องคู่กันมาด้วย สำหรับหมานั้น คนรักก็มาก คนชังก็ไม่น้อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
ไข้หวัด (ใหญ่) นก ๒๐๐๔ไข้หวัดนก หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า Bird flu หรือภาษาวิทยาศาสตร์ว่า Avian flu คำว่า flu ย่อมาจาก influenza หมายถึง โรคไข้หวัดใหญ่ คำว่า avian หมายถึงสิ่งที่บินหรือเหิรฟ้าได้ดังเช่นนก ถ้าส่งจดหมายไปรษณีย์อากาศ เราจะเขียนภาษาอังกฤษว่า By airmail หรือฝรั่งเศสว่า Par avian ไข้หวัดใหญ่ เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
298
กุมภาพันธ์ 2547
ธาตุเหล็ก พัฒนาสมองพัฒนาชีวิตการกินอาหารของคนไทย ที่ปฏิบัติและบอกต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง นั่นคือ กินอาหารให้ครบทั้ง ๕ หมู่ คือ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วิตามิน และไขมัน๑. โปรตีน ได้แก่ เนื้อสัตว์ เครื่องใน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง นมและผลิตภัณฑ์นม โปรตีนช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมร่างกาย อาหารทะเลป้องกันโรคคอพอกตับสร้างและบำรุงเลือด นมสร้างกระดูกและฟัน ๒. คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ข้าว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
297
มกราคม 2547
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis) โรคที่บั่นทอน คุณภาพชีวิตโรคหวัด โรคภูมิแพ้ หรือไซนัสอักเสบ เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจมีอาการหลายอย่างคล้ายกัน เช่น มีน้ำมูก คัดจมูก จาม ปวดแก้ม บางครั้งเป็นกันระยะสั้น บางครั้งเป็นกันตลอดปี ซึ่งบางคนอาจแยกไม่ถูกว่าอาการที่ตัวเองเป็นนั้นคือโรคอะไรกันแน่ เมื่อแยกไม่ถูกก็อาจนำไปสู่การรักษาตัวเองที่ผิดวิธี อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะใกล้ตายทำไมจึงต้องสนใจเรื่องความตายความตายเป็นสิ่งที่ทุกคนเคยได้ยินได้ฟัง และเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นกับทุกคนไม่วันใดก็วันหนึ่ง เมื่อใดก็เมื่อนั้น แต่คนทั่วไปส่วนใหญ่ก็ยังคงไม่สนใจและไม่รู้จักว่าความตายคืออะไร หรือมิเช่นนั้นก็ไม่รู้จักความตายตามจริง หากแต่รู้จักตามภาพที่ตนเองจินตนาการขึ้น ซึ่งมักจะทำให้รู้สึกกลัวความตายมากขึ้นท่านพุทธทาสภิกขุได้กล่าวไว้ในเรื่อง ...