ต้นไม้ใบหญ้า

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    จิก : ผักพื้นบ้านดอกงามจากป่าหิมพานต์ลิงลมเอย มาอมข้าวพองเด็กน้อยทั้งสอง มาทัดดอกจิกบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงร้องประกอบของเด็กภาคกลางในอดีต ชื่อเพลง “ลิงลม” ใช้ร้องประกอบการเล่นที่เรียกว่า “ลิงลม” เช่นเดียวกัน การที่เลือกเนื้อเพลงตอนนี้มา ก็เพราะมีข้อความบรรยายถึงเด็กสองคนนำดอกจิกมาทัด (หู)เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่าน(โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่)เมื่อเห็นชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    กุ่ม : ผักพื้นบ้านที่มีเป็นกลุ่มจ้ำจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่นพายเรือแอ่นๆ กระทั่งต้นกุ่ม...บทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงที่เด็กไทยภาคกลางสมัยก่อนใช้ร้องประกอบการละเล่นอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “จ้ำจี้” ชื่อเพลง “จ้ำจี้มะเขือเปราะ” ซึ่งเป็นเพลงประกอบการเล่นจ้ำจี้นั้นยังมีเพลงอื่นๆอีกเช่น เพลง “จ้ำจี้มะเขือพวง” เป็นต้นในบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    มะตูม : ไม้มงคลและทรงคุณค่าเมื่อต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมานี้ ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อสังคมอันเป็นหน่วยงานที่ผู้เขียนเป็นสมาชิกอยู่ ได้จัดงานแนะนำองค์กรที่จัดตั้งขึ้นมาใหม่คือ มูลนิธิข้าวขวัญ และได้เชิญผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ผู้สนับสนุนการทำงานของศูนย์ฯ ตลอดจนกัลยาณมิตร ฯลฯ มาร่วมงาน โดยจัดให้มีการกินอาหารร่วมกันด้วยเนื่องจากถือว่างานนี้เป็นงานมงคลที่สำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    มะนาว เปรี้ยวอย่างมีคุณค่าซักส้าวเอย มะนาวโตงเตง ขุนนางมาเอง ว่าจะเล่นซักส้าว มือใครยาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    มะกรูด : ข้างนอกขรุขระ ข้างในต๊ะติ๊งโหน่ง“ใครมีมะกรูด มาแลกมะนาวใครมีลูกสาว มาแลกลูกเขย...”เนื้อเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ ผู้อ่านส่วนใหญ่คงจำได้ว่ามาจากเพลงกลองยาวซึ่งใช้เป็นบทสร้อยของเพลง นิยมขับร้องกันในบริเวณภาคกลางของประเทศไทยการที่ผู้แต่งเนื้อร้องเพลงนี้เลือกเอามะกรูดและมะนาวมาเปรียบเทียบกับลูกสาวและลูกเขย นับว่าเหมาะสมอย่างยิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ชะอมผักพื้นบ้านเสน่ห์แรงในบรรดาผักพื้นบ้านของไทยซึ่งมีอยู่มากมายนั้น บางชนิดมีคุณสมบัติพิเศษซึ่งผู้ไม่คุ้นเคยจะรู้สึกยากลำบากในการกินหรือไม่รู้สึกชอบรสชาติเลย แต่หากพยายามทดลองต่อไป จนกระทั่งคุ้นเคยแล้ว จะกลับรู้สึกว่าผักชนิดนั้นมีรสชาติอร่อยเหนือกว่าผักอื่นๆ ซึ่งกินได้ง่ายกว่าผักพื้นบ้านที่มีลักษณะพิเศษดังกล่าวอาจเป็นผักที่มีรสชาติขม เช่น มะระ สะเดา หรือขี้เหล็ก มีรสชาติเผ็ดร้อน เช่น พริก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    เพกาผักพื้นบ้านจากป่าและสวนโบราณช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนมีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมพื้นที่ซึ่งอยู่ห่างกันสองแห่งคือสุโขทัยและกาญจนบุรี แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันหลายประการในพื้นที่ทั้งสองแห่งนั้นก็ตาม แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนได้พบและประทับใจในการเดินทางครั้งนี้คือต้นไม้ ซึ่งเป็นผักพื้นบ้านเก่าแก่ของไทยชนิดหนึ่งขึ้นอยู่ทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    มะกอก ผักพื้นบ้านที่ไม่ชอบคนเจ้าเล่ห์“มะกอกสามตะกร้า ปาไม่ถูก”ประโยคที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นคำพังเพยดั้งเดิมของชาวไทยที่ใช้เปรียบเทียบ (โทษ) ลักษณะของคนประเภทกลิ้งกลอกเจ้าเล่ห์ที่ทำอย่างไรก็จับไม่ได้ไล่ไม่ทันเหมือนกับเอาผลมะกอกตั้งสามตะกร้าขว้างปาก็ยังไม่ถูกเลยสักครั้งเดียว คนประเภทนี้สมัยก่อนรียกกันว่าเป็นคน “มะกอกสามตะกร้า” ก็จะเข้าใจกันทั่วไปแต่ในปัจจุบันคงต้องเปลี่ยนคำเรียกเสียใหม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    มะละกอผักผลยอดนิยม สารพัดประโยชน์เราอาจจัดมะละกออยู่ในจำพวกผักที่เรียกว่า “ผักผล” (Fruit Vegetables) เพราะใช้ผลมาประกอบอาหาร(คาว) เป็นหลัก แม้จะใช้ส่วนอื่นๆ (เช่น ใบ ยอด) เป็นด้วยผักได้ด้วย แต่ใช้น้อยกว่าผลมาก ผักจำพวก “ผักผล” นี้มีหลายชนิด เช่น มะเขือ แตงกวา ฟังทอง เป็นต้น ในบรรดาผัดที่มีอยู่มากมายหลายชนิดนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    ขี้เหล็กบ้าน : ผักสมุนไพรของชาวไทยนกกระจอกกินดอกขี้เหล็กสาวแก่แม่หม้าย จะได้ผัวเด็กบทกลอนที่ยกมาข้างต้นนี้เป็นบทเพลงที่เด็กไทยภาคกลางสมัยก่อนร้องเล่นกันทั่วไป ...