ต้นไม้ใบหญ้า

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    ยอบ้าน : ผักยืนต้นใบโตหากย้อนอดีตไปสัก40 ปี ช่วงที่ผู้เขียนเริ่มจำความได้ คนไทยส่วนใหญ่ในเวลานั้นไม่ต้องซื้อผักจากตลาดเลย รวมทั้งไม่ต้องเสียเวลาปลูกอีกด้วย เพราะผักต่างๆ เก็บเอาจากพืชที่ขึ้นเองในท้องถิ่นตามฤดูกาล แต่อย่างไรก็ยังมีต้นไม้คนไทย (สมัยก่อน) ตั้งใจปลูกขึ้นซึ่งก็ล้วนแล้วแต่เป็นต้นไม้อเนกประสงค์ทั้งสิ้น ในตอนนี้จะกล่าวถึงต้นไม้ชนิดหนึ่งซึ่งคนไทยเคยนิยมปลูกเอาไว้บริเวณบ้านเรือน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    ผักพื้นบ้านกับบทบาทในตำรับอาหารไทยอาหารหลักของไทยนอกจากข้าวและปลาแล้ว ก็คือ ผัก ซึ่งมีอยู่มากมาย เนื่องจากบริเวณที่ตั้งของประเทศไทยอยู่ในเขตร้อน (Tropical) ซึ่งค่อนข้างชุ่มชื้น (Humid) เพราะมีลมมรสุม (Monsoon) พัดผ่านนำฝนมาให้เป็นประจำ จึงมีแหล่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) สูง โดยเฉพาะพืชชนิดต่างๆ ที่ชาวไทยนำมากินเป็น “กับข้าว” ซึ่งรวมเรียกว่า “ผัก” แต่เดิมชาวไทยกินผักพื้นบ้าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ผักพื้นบ้านไทย : ของดีที่ถูกทอดทิ้งคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้เสนอเรื่องต้นไม้ชนิดต่างๆ ต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่าปีแล้ว แต่ก็ยังมีต้นไม้อีกมากมายหลายชนิดที่น่าสนใจและสมควรนำมาเขียนในคอลัมน์นี้ อย่างไรก็ตาม กองบรรณาธิการนิตยสารหมอชาวบ้าน ได้แนะนำให้เขียนเรื่องผักพื้นบ้านของไทยบ้าง เพื่อช่วยกันรณรงค์ให้ชาวไทยหันมาบริโภคผักพื้นบ้านไทยกันมากขึ้น ดังนั้น ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ทับทิม : อัญมณีแห่งผลไม้ศัพท์บางคำในภาษาไทยนั้น อาจมีความหมายได้หลายอย่าง และความหมายที่ต่างกันนั้นมักมีความเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น คำว่า “ทับทิม” หนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอบรัดเลย์ ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2416 ให้ความหมายไว้ว่า...“พลอยแดง : เป็นชื่อต้นไม้อย่างหนึ่งดอกแดง ลูกกลมๆ กินดี : อนึ่งเป็นชื่อพลอยที่เขาทำหัวแหวนสีแดงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ชา : เครื่องดื่มจากรากเหง้าวัฒนธรรมตะวันออกหากถามว่าเครื่องดื่มชนิดใดมีผู้นิยมดื่มมากที่สุดในปัจจุบัน คำตอบที่ได้รับส่วนใหญ่ คือ กาแฟ ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้องถ้าวัดจากน้ำหนักของกาแฟที่ถูกบริโภค แต่ถ้าวัดจากจำนวนคนที่ดื่มแล้วกาแฟยังมีจำนวนน้อยกว่า เนื่องจากเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้ดื่มมากที่สุดประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลกปัจจุบันเลยทีเดียว เครื่องดื่มนั้น คือ ชา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    กาแฟ : ความขมที่ชาวโลกนิยมในบรรดาเครื่องดื่มทั้งหลายที่ชาวโลกปัจจุบันนิยมดื่มกันนั้น กาแฟนับได้ว่าเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้นิยมมากที่สุด ผู้เขียนเชื่อว่าผู้อ่านคอลัมน์นี้ทุกท่านคงรู้จักกาแฟที่เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งเป็นอย่างดี และหลายท่านอาจดื่มกาแฟอยู่เป็นประจำ แต่คงจะมีไม่กี่คนที่เคยเห็นกาแฟที่เป็นต้นไม้ชนิดหนึ่ง หรือสนใจศึกษาถึงประวัติความเป็นมาด้านต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    งิ้ว : ต้นไม้แห่งกามภูมิหนังสือไตรภูมิกถาหรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า ไตรภูมิพระร่วงนั้น เชื่อกันว่า นิพนธ์ขึ้นโดยพญาลิไท แห่งกรุงสุโขทัยเมื่อกว่า 600 ปีมาแล้ว เนื้อหาใจความหลักของไตรภูมิกถากล่าวถึงภูมิทั้งสาม (ไตรภูมิ) คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งในแต่ละภูมิดังกล่าวยังประกอบด้วยภูมิย่อยๆ อีกหลายภูมิ กล่าวคือ กามภูมิมี 11 ภูมิย่อย รูปภูมิมี 16 ภูมิย่อย และอรูปภูมิมี 4 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    มะขาม : ต้นไม้ประจำครัวไทย“อะไรเอ่ย ต้นเท่าลำเรือ ใบห่อเกลือไม่มิด”คำทายสำหรับเด็กข้อนี้ อาจจะยากสำหรับเด็กในเมือง แต่นับว่าง่ายมากสำหรับเด็กในชนบท เพราะแม้บางคนจะนึกคำตอบไม่ออก ผู้ทายก็จะบอกใบ้ให้ว่า “หาได้ในครัว” เท่านี้ทุกคนก็จะตอบได้ เนื่องจากในครัวของคนไทยย่อมมีส่วนหนึ่งของต้นไม้ชนิดนี้อยู่เสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    มะม่วง : ไม้ผลยอดนิยมของคนไทย* หมากม่วงพวงพรวนย้อย พิมเสนห้อยสอยมากินสุกห่ามตามใจถวิล เอาตะกร้อซอเกี่ยวลง ฯ* ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    ตาลโตนด : ตัวแทนความหวานและความสูงวัดเอยวัดโบสถ์ มีต้นโตนดอยู่เจ็ดต้นเจ้าขุนทองไปปล้นป่านฉะนี้ไม่เห็นมาคดข้าวออกใส่ห่อ ...