-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
355
ธันวาคม 2551
ต้นฉบับนี้เขียนขึ้นในเดือนตุลาคมซึ่งเป็นเดือนแห่งการเกษียณอายุเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้รับเชิญจากสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้ไปบรรยายเรื่อง "ชีวิตเป็นสุขหลังวัย 60" ให้แก่บรรดาข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกษียณอายุฟังผมได้ให้แนวทางปฏิบัติ 8 ประการเพื่อชีวิตเป็นสุข ดังนี้1. หมั่นดูแลสุขภาพตนเอง ด้วยหลัก 4 อ. โดยยึดคำขวัญว่า- อ.อาหาร : กินน้อยตายยาก กินมากตายง่าย- อ.ออกกำลังกาย : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
356
ธันวาคม 2551
"...ช่างมันเถิด อะไรมันเกิด ก็ปล่อยมันไป..."เนื้อเพลงที่โดนใจให้คิดถึง "การรู้จักปล่อยวาง" ท่อนนี้ แว่วมาจากวงเต้นแอโรบิกของสาวๆกลุ่มหนึ่งที่ริมกว้านพะเยา ในเช้าวันหนึ่งของช่วงปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมาที่ผมมีโอกาสเดินทางไปบรรยายความรู้เรื่องสุขภาพที่เมืองนั้นเยื้องไปอีกฟากถนนหนึ่งในบริเวณอนุสาวรีย์พ่อขุนงำเมือง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
354
ตุลาคม 2551
"ใครเคยล้างจานอย่างมีความสุขบ้าง?" ผมเอ่ยถามวงเสวนากลุ่มหนึ่งที่พูดคุยกันถึงเรื่องความสุขกับการทำงานมีชายหนุ่มคนหนึ่งตอบว่า "เวลาล้างจานจะรู้สึกเบื่อ ผมใช้วิธีเปิดเพลงฟังเพลินๆ ก็รู้สึกมีความสุขดี""แล้วใครเคยกวาดบ้านอย่างมีความสุขบ้าง?" ผมถามต่ออีกประเด็นหนึ่งมีหญิงสาวคนหนึ่งตอบว่า "เวลากวาดบ้านหนูใช้วิธีเปิดเพลงไป เต้นไป ก็มีความสุขดี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
353
กันยายน 2551
หมอชาวบ้านฉบับนี้ได้นำเสนอเรื่องราวของคุณเบญจวรรณ อรุณสาธิต ผู้พิการจากการประสบอุบัติเหตุ ที่มีจิตใจแข็งแกร่ง สามารถยืนหยัดดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าต่อตัวเองและผู้อื่นอันน่ายกย่องยิ่งในปัจจุบัน มีผู้คนจำนวนไม่น้อยที่ร่างกายพิการเนื่องจากความผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือจากการเจ็บป่วย (ที่พบได้บ่อยก็คือโรคอัมพาตครึ่งซีกในคนวัยกลางคนขึ้นไป เบาหวานที่ต้องตัดขา) หรือจากอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
352
สิงหาคม 2551
"การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนจะเกิดได้จริงต้องสร้างชุมชนให้เข้มแข็งเสียก่อน"ผู้ใหญ่โชคชัย ลิ้มประดิษฐ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้ซึ่งเป็นผู้นำในการพัฒนาความเข้มแข็ง และความเจริญของบ้านหนองกลางดง กิ่งอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มายาวนาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
351
กรกฎาคม 2551
การใช้ยาพอเพียง หมายถึงการใช้ยาที่เหมาะสมหรือพอเหมาะ สมเหตุสมผล ตามความจำเป็นไม่มากไป ไม่น้อยไปในบ้านเรามีการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมอยู่ 2 ลักษณะ ลักษณะหนึ่งคือ ใช้น้อยไป เช่น ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านจุลชีพ (ชาวบ้านนิยมเรียกว่า ยาแก้อักเสบ) ซึ่งจำเป็นต้องใช้ให้ครบขนาดและระยะเวลากำหนดสำหรับการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย (เช่น ทอนซิลอักเสบ ไซนัสอักเสบ วัณโรค ทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นต้น) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
350
มิถุนายน 2551
ขณะที่ลงมือเขียนต้นฉบับนี้ ตรงกับวันวิสาขบูชาอันเป็นวันระลึกถึงการอุบัติขึ้น ของพระพุทธองค์และพุทธศาสนา ที่สอนเรื่องความทุกข์ (ใจ) และการดับทุกข์ (ใจ)พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบว่า มนุษย์จะมีจิตใจที่เป็นทุกข์ ถูกกดดันหรือบีบคั้นเป็นครั้งคราว เมื่อมีการรับรู้ (วิญญาณ) โลกภายนอกหรือสิ่งกระทบผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อยาตนะ 6) แล้วเกิดความรู้สึก (เวทนา) ว่าดี-ไม่ดี ชอบ-ไม่ชอบ พอใจ-ไม่พอใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
349
พฤษภาคม 2551
ในนามสำนักพิมพ์หมอชาวบ้านและมูลนิธิหมอชาวบ้าน ต้องขอขอบคุณผู้อุปการคุณทุกส่วน ตั้งแต่กองบรรณาธิการ ผู้เขียน โรงพิมพ์ สายส่ง ร้านค้า ผู้อุดหนุนทุน (สปอนเซอร์) ในการจัดพิมพ์ ตลอดทั้งสมาชิกหมอชาวบ้าน และผู้อ่านทุกท่านที่ได้เกื้อหนุนให้เรายืนหยัดเติบโตมาจนถึงวันนี้เรามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานใหม่ๆ เพื่อให้หมอชาวบ้านเกิดประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพของประชาชนให้มากยิ่งๆ ขึ้นไปเรายินดีต้อนรับข้อคิดเห็น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
348
เมษายน 2551
นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพจิตอาสาพาสร้างสุข"ตั้งแต่มาทำงานจิตอาสาที่โรงพยาบาล ๖ เดือน รู้สึกว่าสุขภาพของตัวเองดีขึ้น น้ำหนักลดจาก ๗๕ กิโลกรัม เหลือ ๖๘ กิโลกรัม ความดัน ไขมันในเลือด ที่เคยสูงก็คุมได้เป็นปกติ กลางคืนนอนหลับสบาย ที่สำคัญคือใจเย็นลง มีความอดกลั้นมากขึ้น อยู่กับครอบครัวด้วยความสงบสุข และอบอุ่นขึ้น..."คุณทองหล่อ อภินันท์รัตนกุล วัย ๕๘ ปี ซึ่งเป็น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
347
มีนาคม 2551
นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพลมหายใจ : ระฆังแห่งสติฉบับนี้คุณหมอสมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ ได้เขียนเรื่อง "หายใจช้า" โดยได้แนะนำวิธีฝึกหายใจเข้า-ออกช้าๆ ไม่เกินนาทีละ ๑๐ ครั้ง ทำวันละ ๑๕ นาทีจะมีผลดีต่อสุขภาพ เช่น คลายเครียด ลดความดันเลือด เป็นต้นการใช้ลมหายใจในการส่งเสริมสุขภาพตนเองนั้น ถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวตะวันออกมาแต่โบราณกาล ที่รู้จักกันดีก็คือ ...