Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » บอกเล่าเก้าสิบ

บอกเล่าเก้าสิบ

  • ความสุขกับสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 346 กุมภาพันธ์ 2551
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพความสุขกับสุขภาพคำเกริ่นมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ได้จัดทำสมุดบันทึกประจำวัน (ไดอารี) โดยใช้ชื่อว่า "กรุ่นกลีบความสุข ๒๕๕๑" ในเล่มมีภาพวาดดอกไม้หลากชนิดอันงดงาม และมีบทความเกี่ยวกับความสุข เดือนละ ๑ บทผมมีโอกาสเขียนบทประจำเดือนพฤศจิกายน โดยใช้ชื่อว่า "ความสุขกับสุขภาพ"จึงขอนำมาเผยแพร่ในบอกเล่าเก้าสิบฉบับนี้ครับ คำว่า "สุขภาพ" ...
  • ระวังภัยจากปลาปักเป้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพระวังภัยมืดจากปลาปักเป้ามีผู้ป่วยรายหนึ่งหลังจากกินก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาได้ไม่นาน ก็มีอาการรู้สึกชาและเสียวๆ ที่ริมฝีปาก ร่วมกับอาการปวดท้องอาเจียน ถ่ายเป็นน้ำแบบอาการท้องเสียหรืออาหารเป็นพิษ ได้ไปตรวจที่โรงพยาบาล ระหว่างรอหมอก็เริ่มรู้สึกกล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย ไม่ค่อยมีแรง แขนขาอ่อนแรง พูดลำบาก หายใจลำบาก แพทย์เห็นอาการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ...
  • การป้องกันโรคมะเร็ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 338 มิถุนายน 2550
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพการป้องกันโรคมะเร็งหมอชาวบ้านฉบับนี้ว่าด้วย "โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่" ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยชนิดหนึ่ง ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์มีส่วนช่วยให้สามารถค้นพบมะเร็งในระยะแรก และมีวิธีบำบัดรักษาให้มีชีวิตยืนยาวและ/หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างไรก็ตาม หากสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของโรคมะเร็งก็ย่อมจะดีกว่าเป็นแน่ ...
  • เคล็ดลับป้องกันโรคติดเกม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    เคล็ดลับป้องกันโรคติดเกมปัจจุบันดูเหมือนว่า" โรคติดเกม "จะกลายเป็นโรคระบาดร้ายแรงในหมู่เยาวชนชนิดหนึ่ง ซึ่งกระทบต่อครอบครัวจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ คนในเมือง และครอบครัวที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ หรือเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที)เด็กติดเกมมีตั้งแต่นักเรียนชั้นประถมศึกษา จนถึงอุดมศึกษา แม้แต่ในหมู่นักศึกษาแพทย์และวิศวะที่จัดว่าเป็นชนชั้นหัวกะทิ ...
  • เปิบพิสดารระวังตายพิสดาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    เปิบพิสดารระวังตายพิสดารเห็ดมีมากมายหลายชนิด ส่วนใหญ่ใช้เป็นอาหาร บางชนิดมีสารเคมีที่มีสรรพคุณเป็นยา เช่น เห็ดหอมเห็ดหลินจือบางชนิด โดยเฉพาะเห็ดที่ขึ้นตามธรรมชาติหรือเห็ดป่ามีสารที่เป็นพิษต่อร่างกายคนเรา ส่วนใหญ่เป็นพิษอ่อน ทำให้เกิดอาการปวดท้อง อาเจียน ท้องเดิน ดังที่เรียกว่า "อาหารเป็นพิษ" หากอาเจียนหรือถ่ายท้องรุนแรงก็อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่ ...
  • ล้างพิษด้วยหลัก ๔ อ.

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ล้างพิษด้วยหลัก ๔ อ.หลายปีมานี้ มีกระแสนิยมเกี่ยวกับ "การล้างพิษ" ในหมู่คนรักสุขภาพจำนวนไม่น้อย โดยเชื่อว่าร่างกายคนเราได้รับพิษจากอาหารการกิน มลพิษทางอากาศ และสิ่งแวดล้อม จนก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคมะเร็ง จึงต้องมีการล้างพิษด้วยวิธีการหลากหลาย และที่นิยมกันมากก็คือ การสวนล้างลำไส้ หรือที่เรียกกันว่า "ดีท็อกซ์" คำว่า "ล้างพิษ" ...
  • หมอชาวบ้านเป็นได้ทุกที่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    วันหยุดสุดสัปดาห์ ผมนิยมไปเดินวิ่งออกกำลังที่สวนสาธารณะใกล้บ้าน ไม่นานก็รู้จักมักคุ้นกับผู้คนมากหน้าหลายตาหลายคนถือโอกาสถามผมเกี่ยวกับโรคประจำตัวของตัวเองและญาติมิตร เช่น เบาหวาน ความดันเลือดสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต มะเร็ง เป็นต้นบ้างก็ขอความรู้เกี่ยวกับการกินอาหาร ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ และระบบการแพทย์ทางเลือก (เช่น การฝังเข็ม โยคะ ชีวจิต ...
  • คนดี ทำดี ก็มีโรค (ร้าย) ได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ผมมักได้ยินคำปรารภของผู้คนอยู่เสมอว่า"โถ คนดีๆ อย่างเขา ไม่น่าจะป่วยเป็นโรคมะเร็งร้ายเลย""คนคนนี้บุหรี่ก็ไม่สูบ เหล้าก็ไม่ดื่ม วิ่งออกกำลังกายทุกวัน ไม่น่าจะเป็นโรคหัวใจเลย""เขาเป็นคนธรรมะธัมโม ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ทำไมอยู่ๆกลายเป็นอัมพาต"บางคนคิดว่า การเป็นคนดี ทำแต่ความดี กุศลกรรมน่าจะส่งผลให้เขามีสุขภาพดี มีภูมิต้านทานโรคดี ไม่ควรจะเจ็บไข้ได้ป่วย โดยเฉพาะโรคร้าย ...
  • โอกาสเสี่ยงทางสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    "สารานุกรมทันโรค" ฉบับนี้ว่าด้วยเรื่อง "หัดเยอรมัน""หัดเยอรมัน" หรือที่บ้านเราเรียกว่า "เหือด" นั้น เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง มีอาการไข้ และออกผื่นแดงทั่วตัวคล้ายหัด แต่อาการไม่รุนแรงเท่า ที่สำคัญคือ มีผลรุนแรงต่อทารกในครรภ์ระยะ ๓ เดือนแรกหากมารดาติดเชื้อหัดเยอรมันในระยะครรภ์๒ เดือนแรก ทารกมีโอกาสพิการถึงร้อยละ ๖๐-๘๕ และ ...
  • สุขภาวะเกิดได้ด้วยกาย-ใจสมดุล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ปีใหม่นี้ ขอส่งความปรารถนาดีมายังผู้อ่านทุกท่านและขออวยพรให้มีร่างกายแข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง และมีความสุขอยู่ทุกวันคืน เหนือสิ่งอื่นใด ขอให้มีปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติเพื่อบรรลุซึ่งสุขภาวะและความสุข ในโอกาสนี้ ผมขอพูดคุยถึงแง่คิดมุมมองเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนกันต่อไปด้วยความรู้และประสบการณ์ส่วนตัว ผมคิดว่า ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa