Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » รู้ก่อนกิน

รู้ก่อนกิน

  • ให้เวลากับอาหารเช้าบ้าง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    ให้เวลากับอาหารเช้าบ้าง“แดงมีแต่แดง ไม่มีเขียว เอาอีกแล้ว อยากจะไปธุระก็ไปไม่ทัน (เบื่อ)”แว่วเสียงบ่นเป็นเพลงของพ่อวสันต์ โชติกุล ดังลอดฝูงชนที่เบียดเสียดยัดเยียดแย่งกันยืนบนรถสายทางด่วนที่ไม่ได้ด่วนสมชื่อเอาเสียเลย เพราะแช่อยู่กับที่กว่า 20 นาทีแล้วยังไม่มีทีท่าจะขยับเขยื้อน ชีวิตจริงที่ไม่ต้องเลียนแบบดาราของคนเมืองกรุง คงไม่ต้องถามกันให้เมื่อยปากว่าเบื่อไหม เพราะคำตอบก็คือ ...
  • เครื่องเคลือบดินเผา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    เครื่องเคลือบดินเผาวันนี้มีเวลาว่างก็เลยไปนั่งรื้อของเก่าที่คุณปู่คุณย่าเก็บสะสมไว้มาปัดฝุ่นทำความสะอาด เผื่อว่าจะมีข้าวของเครื่องใช้ที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ ขณะที่ทั้งรื้อทั้งค้นอยู่นั้นพลันสายตาก็บังเอิญเหลือบไปพานพบกับของรักของหวงชิ้นสำคัญๆของคุณย่าเข้า นั่นก็คือ ภาชนะดินเผาเก่าๆ ซึ่งแม้บางชิ้นจะมีร่องรอยแตกบิ่นไปบ้าง ...
  • ฟอร์มาลิน กับ อาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    ฟอร์มาลิน กับ อาหารเคยมีคนตั้งข้อสังเกตกับผักสดหรืออาหารทะเลสดที่สดแบบอมตะนิรันดร์กาลโดยไม่รู้จักเหี่ยว ทั้งที่ซื้อมาตั้งแต่วันก่อน อีกทั้งไม่ได้แช่ในตู้เย็นด้วย ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร ในที่สุดจึงได้คำตอบว่าเป็นเพราะสารฟอร์มาลิน (Formalin) นั่นเองมารู้จักกับ “ฟอร์มาลิน”ฟอร์มาลินเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งซึ่งมีพิษ ประกอบด้วยก๊าซฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) ละลายน้ำด้วยความเข้มข้นร้อยละ 37 ...
  • วิธีเลือกร้านอาหารขณะเดินทาง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    วิธีเลือกร้านอาหารขณะเดินทาง“ไหน แวะร้านไหนดี” คนขับรถ ถามเพื่อนร่วมทาง “เอาร้านโน้นสิ คนเยอะดี สงสัยอร่อย” นั่นคือ คำตอบที่ได้รับบทสนทนาข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างของวิธีการหนึ่งในการเลือกร้านอาหารที่จะเข้าไปบริโภคของคนทั่วไป ซึ่งก็ถือได้ว่าเป็นวิธีที่มีความเหมาะสมในระดับหนึ่ง เพราะร้านที่คนเข้าไปใช้บริการกันมากมักเป็นร้านที่อาหารอร่อย ราคาไม่แพงเกินไป ...
  • ข้าวแดง-สีย้อมจากธรรมชาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    ข้าวแดง-สีย้อมจากธรรมชาติหน้าตาของอาหารมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการเชิญชวนให้ผู้บริโภคใคร่อยากจะชิมลิ้มลอง และสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการช่วยเสริมหน้าตาของอาหารให้ดูน่ากินมากยิ่งขึ้น ก็คือ สีสันของอาหาร นั่นเองในสมัยก่อนที่เรายังไม่มีสีสังเคราะห์ที่ใช้ผสมอาหารเพื่อให้เกิดสีสันสวยงามเหมือนสมัยนี้ ชาวบ้านในยุคนั้นจึงได้คิดดัดแปลงโดยสกัดเอาสีจากพืชซึ่งเป็นสีธรรมชาติมาใช้ ...
  • เนื้อเค็ม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    เนื้อเค็มคงจะมีบ่อยครั้งทีเดียวที่คุณแม่บ้านเกิดความรู้สึกเบื่ออาหารสดอันจำเจ เพราะทั้งเนื้อสดและผักสดเท่าที่ปรากฏอยู่ในท้องตลาดทุกวันนี้ หากใครลองสังเกตดูจะพบว่า มีซ้ำๆ กันอยู่ไม่กี่ชนิดเท่านั้น โดยเฉพาะผักสดจะเหลืออยู่แต่เฉพาะ “ผักจีน” (ใช้สารเคมีมาก) ซึ่งได้แก่ คะน้า ผักกาดหอม ต้นหอม ผักชี ฯลฯ ส่วน “ผักไทย” (ใช้สารเคมีน้อยหรือไม่ใช้เลย) เช่น ผักหวาน มะรุม กระถิน ...
  • พยาธิ-อันตรายที่แฝงตัวมากับอาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    พยาธิ-อันตรายที่แฝงตัวมากับอาหารผักและเนื้อสัตว์จัดว่าเป็นอาหารหลักที่สำคัญของคนไทย ไม่ว่าจะมีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันเพียงใด แต่บางครั้งการบริโภคผักและเนื้อสัตว์อาจไม่ค่อยมีความปลอดภัยนัก เพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมที่แฝงตัวมาด้วยไม่ว่าจะเป็นสารพิษฆ่าแมลง สารเคมีต่างๆ เช่น ฟอร์มาลิน (formalin) แต่สิ่งหนึ่งที่หลายคนอาจจะมองข้ามไป สิ่งนั้นก็คือ ...
  • อันตรายจากภาชนะใส่อาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    อันตรายจากภาชนะใส่อาหารในสมัยก่อนภาชนะที่เราใช้บรรจุอาหารส่วนมากมักจะใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กะลามะพร้าว เครื่องปั้นดินเผา (ไม่มีลวดลาย ไม่เคลือบ) แต่มาถึงยุคปัจจุบัน วัสดุจากธรรมชาติเหล่านี้ดูเหมือนว่าจะค่อยๆถูกกลืนหายไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่คืบคลานเข้ามาครอบงำวิถีชีวิตคนเราเสียจนหมดสิ้นถึงเดี๋ยวนี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะเห็นแต่จานกระเบื้องเคลือบสีลายสวย ...
  • ปลาเค็ม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ปลาเค็มเป็นที่ทราบกันดีว่าปลาเป็นอาหารที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนไทยเรา จนมีสำนวนที่เราคุ้นเคยและพูดกันจนติดปากว่า “กินข้าวกินปลา” หรือกล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ในด้านอาหารของไทยเราว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” นั่นย่อมแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดแล้วว่า ปลาเป็นอาหารสำคัญยิ่งของไทยเรามาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว แต่เมื่อสภาพของบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa