-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
179
มีนาคม 2537
ไอศกรีมไอศกรีมเป็นอาหารสุดโปรดของเด็กและผู้ใหญ่ในเมืองร้อนอย่างเมืองไทยมานมนานแล้วแต่โบราณมาสัญญาณที่บอกให้ทราบว่ารถเข็นขายไอศกรีมมา ก็คือ เสียงกระดิ่ง กริ่ง หรือแตรลม ปัจจุบันนี้ก็วิวัฒนาการมาเป็นเสียงดนตรีที่เรียกร้องความสนใจทั้งเด็กและผู้ใหญ่ได้ไม่แพ้ของเดิม“ไอศกรีม” เป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติให้ใช้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า ‘Ice cream’ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
178
กุมภาพันธ์ 2537
เกลือไอโอดีนเชื่อว่าใครๆ ก็รู้จักเกลือกันอยู่แล้ว ก็เกลือที่ใช้ปรุงรสอาหารไงล่ะ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “เกลือแกง” ถ้าจะให้ลึกกว่านี้ เราก็รู้อีกนั่นแหละว่า เกลือมีสองชนิด คือ เกลือสมุทร และเกลือสินเธาว์ เกลือสมุทรเป็นเกลือที่ได้จากทะเล ส่วนเกลือสินเธาว์เป็นเกลือที่ได้จากดิน แต่คุณรู้หรือเปล่าว่าเกลือมีความสำคัญต่อร่างกาย อย่างไรคุณคงร้องอ๋อ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
อาหารกับโรคเกาต์โรคภัยไข้เจ็บหลายโรคมักมีสาเหตุมาจากการกินเสียเป็นส่วนใหญ่ โรคเกาต์ก็เป็นอีกโรคหนึ่งที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มนี้ แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ ลักษณะอากรของโรคนี้มิใช่เกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน หากเป็นแบบสะสมเรื้อรัง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
แพ้อาหารหลายๆ ครั้งความสำคัญในครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวคนใดคนหนึ่งเกิดมีอันต้อง “แพ้อาหาร” ขึ้นมา แล้วอย่างนี้คุณๆ ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดจะทำอย่างไรกันดี‘แพ้อาหาร’ คืออย่างไรถ้าเมื่อใดที่เกิดการแพ้อาหารขึ้น คุณสามารถจะรู้สึกเกือบทันทีเลยว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
อาหารหน้าโรงเรียนหลังเลิกเรียนเป็นเวลาที่เด็กๆ มักจะหิวกันมาก เพราะตั้งแต่เช้าจรดเย็นพวกเขาต้องใช้ทั้งสมอง และพลังงานในการเรียน และการทำกิจกรรม พอเลิกเรียนก็ต้องเดินทางกลับบ้าน ซึ่งบางครั้งต้องใช้เวลานาน เด็กมักหิ้วท้องรอจนหว่าจะถึงบ้านไม่ไหว เด็กมักต้องหาอาหาร แถวหน้าโรงเรียนกินเพื่อระงับความหิวไปพลางก่อน ดังนั้น ไม่ว่าพ่อค้าแม่ขายจะเสนออะไรให้ลองชิมและมีรสชาติเป็นอย่างไร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
173
กันยายน 2536
“ไฟเตท” สารลดการดูดซึมแร่ธาตุในร่างกาย“ไฟเตท” เป็นชื่อขององค์ประกอบทางเคมีชนิดหนึ่งของพืช ซึ่งดึงมาจากใบและรากของพืชในระหว่างที่มีการเจริญเติบโตพบมากที่เมล็ดพืช โดยเฉพาะพืชในตระกูลถั่ว ธัญพืช และพืชที่ให้น้ำมันจะมีการสะสมไฟเตทมากเป็นพิเศษ เพราะเป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุต่างๆ รวมทั้งฟอสฟอรัสด้วย เพื่อจะนำแร่ธาตุเหล่านี้มาใช้ในการงอกของเมล็ด รวมทั้งการเจริญเติบโตของพืช ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
วิตามินอีจากความรู้ในการเรียนสุขศึกษาตั้งแต่สมัยเป็นนักเรียนมัธยม ทำให้เรารู้ว่าวิตามินอีช่วยให้ไม่เป็นหมัน และมีอยู่ในอาหารจำพวกไขมัน เรามักจะจำและเชื่ออย่างนี้มาตลอด มาถึงปัจจุบัน ก็ได้ยินได้ฟังเรื่องวิตามินอีในส่วนที่เกี่ยวกับความสวยความงามในรูปของครีมบำรุงผิวบ้าง แชมพูสระผมบ้าง ว่าช่วยถนอมผิวให้ดูอ่อนกว่าวัย หรือช่วยบำรุงเส้นผมให้แข็งแรง เงางาม หรือช่วยรักษาโรคนั้นโรคนี้ได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
อาหารต้านมะเร็งสังคมสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราในปัจจุบันล้วนปะปนไปด้วยสารพิษ เช่น ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม ควันไฟ สารพิษฆ่าแมลง ยาบางชนิด และควันบุหรี่ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนมีส่วนที่ทำให้ร่างกายเกิดเจ็บป่วยได้ทั้งสิ้น และโรคที่น่ากลัวอีกโรคหนึ่ง ก็คือ โรคมะเร็งกลไกการเกิดโรคมะเร็งมะเร็งไม่ใช่โรคที่เกิดขึ้นได้ง่ายๆ ฉะนั้นจึงมีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
ข้าวกล้อง ข้าวที่กินกันทั่วๆ ไปอยู่ทุกวันนี้ คือ ข้าวเจ้า ข้าวเจ้าแบ่งออกเป็น ข้าวกล้องกับข้าวขัดสี ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารต่างกันข้าวกล้อง (Brown rice) เป็นข้าวที่ผ่านกรรมวิธีการสีข้าวขั้นต้น คือ เปลือกข้าวจะถูกกะเทาะแตกง่ายและหลุดไป จะมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวติดอยู่ สีผิวของเมล็ดข้าวมีสีน้ำตาลปนแดงข้าวขัดสี (Polished or milled rice) เป็นข้าวที่ผ่านกรรมวิธีการขัดสีหลายครั้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
ระวังอาหารทะเลจานโปรดปัจจุบันอาหารทะเลเป็นอาหารที่นิยมบริโภคกันมาก โดยสังเกตจากร้านขายอาหารทะเลที่ผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด ไม่ว่าจะเกิดขึ้นริมฟุตปาทจนถึงยกระดับไปอยู่ในภัตตาคารใหญ่ๆ แต่อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน คุณค่าและความเป็นพิษของอาหารทะเลก็ไม่ได้ลดลงตามไปด้วยเลยคุณค่าของอาหารทะเลอาหารทะเลนั้นมีแร่ธาตุที่จำเป็นสำหรับมนุษย์มากมาย ไม่ว่าจะเป็นไอโอดีน ธาตุเหล็ก สังกะสี และแคลเซียม ...