Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • แอพลิเคชั่น DoctorMe
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คุยกับ หมอ 3 บาท

คุยกับ หมอ 3 บาท

  • ไขมันพอกตับ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    ไขมันพอกตับไขมันพอกตับ เป็นเรื่องที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อไปตรวจสุขภาพประจำปีแล้วพบว่ามีไขมันพอกตับหรือไขมันเกาะตับ ทำให้เกิดความวิตกกังวลกับผู้ป่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่มีรูปร่างอ้วน เป็นเบาหวานและมีไขมันในเลือดสูง ในคนปกติ ตับจะมีบทบาทสูงมากในการรักษาชีวิตให้เป็นปกติ เพราะจะทำงานเสมือนโรงงานบำบัดน้ำเสีย โรงงานกำจัดขยะและโรงงานแปรรูปสารอาหาร ...
  • ยาป้องกันกระเพาะอาหารอักเสบ จำเป็นหรือไม่?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    ปัจจุบันการรักษาโรคที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหารนิยมใช้ยาลดกรดตัวใหม่ล่าสุดที่มีสรรพคุณสูงมากจนทำให้ตลอดเวลาแทบจะไม่มีกรดในกระเพาะอาหาร ยาตัวใหม่เหล่านี้มีราคาแพง การใช้ยาราคาแพงต้องพิจารณาให้ดีถึงความคุ้มค่า เพราะยาตัวใหม่เหล่านี้ไม่ใช่ป้องกันการอักเสบของกระเพาะอาหารที่เกิดขึ้นครั้งแรก แต่ป้องกันไม่ให้อาการกำเริบซ้ำ ...
  • อย่าอดอาหารมื้อเย็น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ตั้งชื่อเรื่องอย่างนี้คงมีหลายคนที่เกิดความรู้สึกขัดแย้ง เพราะเป็นการสวนกระแสความเชื่อเรื่องสุขภาพ โดยเฉพาะการลดความอ้วนและการมีชีวิตยืนยาว ซึ่งส่วนใหญ่เชื่อว่าอาหารมื้อเย็นไม่จำเป็น เนื่องจากร่างกายจะได้พัก ไม่จำเป็นต้องกิน ต่างกับมื้อเช้าและมื้อกลางวันที่ต้องกินให้มากเพื่อเติมพลังไว้สำหรับการทำงานหนักแนวคิดของผู้เขียนที่อยากนำเสนอในอีกมุมมองหนึ่งซึ่งชวนให้แย้งว่า ...
  • เหวี่ยงแหรักษาโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    การเหวี่ยงแหรักษาโรค ถ้าเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนก็เหมือนการเหวี่ยงแหหาปลา ซึ่งมักจะได้ปลาจำนวนมาก หลากหลายทั้งชนิดและขนาด ถือว่าลองได้เหวี่ยงแหไปแล้วต้องมีปลาติดมาบ้างโอกาสพลาดก็มีไม่มากการรักษาโรคในปัจจุบันก็มีอยู่ไม่น้อยที่ใช้การรักษาแบบเหวี่ยงแห นั่นคือ พยายามรักษาให้ครอบคลุมไว้ก่อน ผู้ป่วยบ่นอะไร เป็นอะไร ก็รักษาหมดทุกอย่าง เช่น บ่นเวียนศีรษะก็ให้ยาแก้เวียนศีรษะ บ่นว่าไอก็ให้ยาแก้ไอ ...
  • อ่อนเพลียอย่างนี้ไม่มีโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    มีผู้ป่วยหลายคนมาพบแพทย์ด้วยเรื่องอ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีเรี่ยวแรงทำงาน บางคนบอกว่ารู้สึกเหนื่อยง่าย บ้างก็ว่าร่างกายอ่อนล้าผิดปกติ ที่สำคัญคือกลัวว่าจะเป็นโรคร้ายแรงโดยมากเมื่อคนเราเจ็บป่วย มักจะมีอาการอ่อนเพลียร่วมด้วยเสมอ ดังนั้น ถ้ามีอาการอ่อนเพลียจึงมักจะนึกถึงโรคต่างๆ แต่สำหรับคนที่รู้สึกอ่อนเพลียแต่ไม่มีอาการเจ็บป่วยใดๆ ที่เห็นได้ชัด จะเกิดความวิตกกังวล ...
  • สอด ส่อง เสี่ยง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 375 กรกฎาคม 2553
    มนุษย์เราจัดเป็นสัตว์ชั้นสูงที่มีความเฉลียวฉลาดและอยากรู้อยากเห็นมาก แม้แต่รูมด รูหนู รูปลวก หรืออื่นๆ ก็ยังพยายามหาวิธีนำกล้องสอดเข้าไปศึกษาดูชีวิตของพวกมัน เรียกว่า สอดได้สอด ส่องได้ส่อง เสี่ยงได้ก็จะเสี่ยงแม้แต่ในวงการแพทย์ก็เช่นกัน มีการพัฒนาความรู้และวิธีการด้านการวินิจฉัยและรักษาโรคให้ดีขึ้นและทันสมัยมากขึ้น เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ก็ได้รับการพัฒนาและเกิดขึ้นมาใหม่อยู่เรื่อยๆ ...
  • ความพอดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 374 มิถุนายน 2553
    ความพอดีในแง่มุมของแพทย์กับผู้ป่วย เป็นสิ่งที่อยู่ตรงกลางระหว่างความไว้เนื้อเชื่อใจกับความหวาดระแวง ทั้ง ๒ เรื่องถ้ามีมากเกินไปก็ไม่ดี เรียกว่า เชื่อได้แต่ก็อย่าชะล่าใจ และ ระวังไว้ก็ดีแต่อย่าให้ถึงขั้นหวาดระแวงในการตรวจรักษา ถือเป็นบริการที่ผู้ป่วยมาขอให้แพทย์ใช้วิชาความรู้ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาสุขภาพ บางครั้งปัญหาก็เป็นเรื่องง่ายๆ แก้ไขด้วยตัวเองได้ แต่ผู้ป่วยกังวลก็มาพึ่งแพทย์ ...
  • ความระแวงของแพทย์กับผู้ป่วย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 พฤษภาคม 2553
    ปัจจุบันนี้การให้บริการทางการแพทย์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วยนับวันจะปฏิบัติได้ยากขึ้น คนเป็นแพทย์ก็ต้องระมัดระวังในการตรวจรักษา กลัวถูกฟ้องร้องจนบางครั้งก็ดูเหมือนระแวง ผู้ป่วยเองก็เพ่งเล็งในวิธีการรักษาและผลการรักษามากขึ้น และยังได้ข้อมูลจากสื่อต่างๆ ทั้งถูกบ้างผิดบ้าง ทำให้เกิดความระแวงแพทย์เช่นกันโดยปกติแล้วคนเราหากขาดความไว้เนื้อเชื่อใจก็คบกันได้ลำบาก แพทย์กับผู้ป่วยก็เช่นกัน ...
  • เรียนรู้ เรื่อง "เหน็บชา"

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 372 เมษายน 2553
    อาการ "เหน็บชา" หรือ "อาการชา" พบได้บ่อยและมีอยู่หลายแบบ บางคนแค่ชาเฉพาะที่เป็นครั้งคราวจากการนั่งหรือนอนผิดท่า แค่เปลี่ยนท่าทางชั่วครู่ก็หายได้ แต่อาการชาของบางคนนั้นบ่งบอกถึงความผิดปกติที่มีการกดทับเส้นประสาทบริเวณต่างๆ จนอาจต้องถูกผ่าตัดเลยก็มี ดังนั้นหากเราเรียนรู้ลักษณะของอาการชาประเภทต่างๆ ไว้ ก็จะช่วยวินิจฉัยโรคของตัวเองในเบื้องต้นได้บ้าง ...
  • เวียนหัว-มึนหัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 371 มีนาคม 2553
    เวียนหัวและมึนหัว เป็นอาการอย่างหนึ่งไม่ใช่โรค พบได้บ่อยมากแม้ในคนปกติทั่วไป และส่วนใหญ่มักจะแยกแยะไม่ค่อยออกว่าเวียนหัวหรือมึนหัวกันแน่ บางคนยังเอาไปปนกับอาการปวดหัวอีก ก็เลยยิ่งทำให้มึนกันไปใหญ่ทั้งหมอและคนไข้ช่วงนี้ก็เข้าหน้าร้อนแล้ว อาการผิดปกติอย่างเวียนหัวหรือมึนหัวจะพบได้บ่อยขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมอย่างสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว ความเครียด การปฏิบัติตัว การใช้ยา ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa