Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • แอพลิเคชั่น DoctorMe
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คุยกับ หมอ 3 บาท

คุยกับ หมอ 3 บาท

  • การกู้ชีพ... ฉบับชาวบ้าน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    "การกู้ชีพ" หรือ "การช่วยฟื้นคืนชีพ"คือ ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน โดยใช้แรงมือกดหน้าอก และเป่าลมเข้าทางปาก ซึ่งไม่ต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ใดๆคนส่วนใหญ่มักคิดว่า "การกู้ชีพ" เป็นเรื่องยาก และเกี่ยวข้องกับบุคลากรทางการแพทย์หรือหน่วยกู้ภัยเท่านั้น ซึ่งที่จริงแล้วทุกคนสามารถเรียนรู้และฝึกฝนกันได้ผู้เขียนเคยทำโครงการฝึกกู้ชีพให้กับ อสม. โดยประดิษฐ์หุ่นราคาถูก ...
  • โรคลมชัก (ที่ไม่ใช่แค่ชัก)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    เมื่อเอ่ยถึง "โรคลมชัก" (Epilepsy) เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินมาบ้าง บางคนก็เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "โรคลมบ้าหมู" แต่ถ้าจะให้เท่ห์ขึ้นมาอีกหน่อยก็เรียกว่า "โรควูบ"อันที่จริงแล้ว "โรคลมชัก" นี้ไม่ใช่โรค แต่เป็นกลุ่มอาการของสมองที่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าในสมองผิดปกติชั่วคราว สาเหตุไม่ทราบแน่ชัดแต่อาจมีปัจจัยร่วม เช่น กรรมพันธุ์ หรือเคยมีประวัติชักตอนเป็นเด็กอาการคือ ...
  • ความดันสูง-ความดันต่ำ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 368 ธันวาคม 2552
    หากจะพูดถึงโรคความดันโลหิตสูง เชื่อว่าผู้อ่านคงคุ้นเคย เพราะเป็นปัญหาที่พบบ่อย แต่ก็เป็นสิ่งที่เข้าใจผิดกันได้บ่อยๆ ทั้งหมอและคนไข้ ที่ว่าเข้าใจผิดนั้นไม่ได้หมายความว่าตัวเลขความดันโลหิตเท่าไหร่ที่จัดว่าสูง เพราะโดยทั่วไปก็เข้าใจกันถูกต้องอยู่แล้วว่าถ้าตัวเลขสูงเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท ก็จะถือว่ามีความดันโลหิตสูงกว่าปกติ แต่ปัญหามักจะอยู่ตรงที่ว่า เมื่อไหร่ถึงจะเรียกว่าป่วยเป็น ...
  • เห่อ... ยาใหม่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    เรื่องเห่อของใหม่นี้คนไทยเราไม่น้อยหน้าใคร ถ้ามีอะไรใหม่ๆ มาเป็นต้องขอลองดูเสียหน่อย แม้กระทั่งยาใหม่ที่ทั้งหมอและผู้ป่วยหลายคนก็เห่อเช่นกันอย่าลืมว่ายังไงยาก็คือสารเคมีที่มีผลต่อชีวิตและสุขภาพ มีทั้งคุณและโทษแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอื่นๆ การใช้ยาไม่ว่าจะเป็นยาเก่า (ไม่ใช่เก่าเก็บ แต่หมายถึงยารุ่นแรกๆ) หรือแม้แต่ยารุ่นใหม่ๆ ที่พัฒนาขึ้น ก็ต้องใช้ดุลยพินิจให้ดีการใช้ยาชนิดใดๆ ก็ตาม ...
  • รู้ทันหมอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    สำหรับคนไข้แล้ว คำว่า "รู้ทันหมอ" ในที่นี้หมายถึง การรับรู้ในดุลยพินิจของหมอที่ทำการรักษา โดยการสอบถามข้อมูลการรักษาจนเข้าใจในระดับหนึ่งและใช้สิทธิเรื่องที่ต้องตัดสินใจร่วมกัน ไม่ใช่เอะอะอะไรก็ "แล้วแต่คุณหมอค่ะ" หรือ "ยังไงก็ได้ครับ"บางคนไม่พูด ไม่ถาม ไม่รู้อะไรเลย แต่พอมีความผิดพลาดหรือเคลือบแคลงสงสัย ก็รู้สึกไม่ดีหรือเกิดปัญหามาฟ้องร้องกันภายหลัง ...
  • จะผอมกันไปถึงไหน?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 365 กันยายน 2552
    " ความอ้วน "กับผู้หญิง หรือแม้แต่ผู้ชายบางคน สมัยนี้มักจะถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ต้องสรรหาสารพัดวิธีมาลดน้ำหนักกัน มีบ้างที่สำเร็จ แต่ก็ไม่น้อยเลยที่ล้มเหลว บางคนท้อแท้ บางคนสติแตกประชดชีวิตด้วยการกินจนอ้วนหนักกว่าเดิมก็มีหลานสาววัยรุ่นคนหนึ่งของผู้เขียนเองก็เช่นกัน เดี๋ยวอ้วน เดี๋ยวผอม จนตอนนี้ชักจะผอมเกินไปแล้ว คงเนื่องมาจากค่านิยมที่อยากผอมบางอ้อนแอ้น ...
  • สมองฝ่อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 364 สิงหาคม 2552
    สมองเป็นอวัยวะของร่างกายที่ทุกคนมักจะให้ความสำคัญในลำดับต้นๆ โรคที่เกี่ยวกับสมองมีมากมาย ล้วนแล้วแต่สร้างความกลัวและวิตกกังวลอย่างมากแก่ผู้ป่วยหรือแม้แต่คนปกติเองที่สงสัยว่าอาจมีอาการทางสมอง ยิ่งในปัจจุบันเราให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพกันมาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี เพียงแต่ต้องหาแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง มีสติในการรับรู้ข่าวสาร ...
  • โรคบ้าความขาว... ของวัยรุ่นไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 363 กรกฎาคม 2552
    จากชื่อเรื่องที่ต้องเขียนว่า "โรคบ้าความขาว...ของวัยรุ่นไทย" ก็เพราะหากเขียนเป็น "โรคบ้าความขาว" อย่างเดียว พาลจะนึกไปถึงอาการไม่เหมาะ ไม่ควรของผู้ใหญ่เพศชายบางคนที่แพ้ความขาวของผู้หญิงอันนี้หลายคนทราบดี แต่ที่อยากพูดถึงคือความอยากมีผิวขาวของวัยรุ่นไทยทั้งหญิงและชาย ซึ่งปัจจุบันเป็นกระแสที่มาแรงมากจนบางคนอยากเปลี่ยนสีผิวที่พ่อแม่ให้มากันเลยทีเดียวอันที่จริงแล้ว ...
  • เกือบตายเพราะเหล้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    ผู้ป่วยชายรายหนึ่งอายุ 46 ปี ภรรยาและลูกนำส่งโรงพยาบาล เนื่องจากเพ้อคลั่ง กินอาหารไม่ได้ อาเจียนมาก เป็นมา 2 วัน"เป็นอะไรมาครับ" หมอถาม"แกชอบดื่มแต่เหล้า สองวันนี้อาเจียนมาก เพ้อ เอะอะโวยวาย ทานอะไรไม่ได้ค่ะ" ภรรยาตอบ"มีไข้ไหมครับ" หมอซักต่อ"เอ่อ.. ก็ตัวเย็นนะคะ"Ž"มีโรคประจำตัวอะไรไหมครับ"Ž"เป็นความดันโลหิตสูง ...
  • เจ็บหน้าอก-เจ็บหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    เมื่อเอ่ยถึงอาการยอดฮิตอีกอย่างหนึ่ง คือ "เจ็บอก" หรือ "เจ็บแน่นหน้าอก" เชื่อว่าผู้อ่านคงเคยมีอาการเช่นนี้บ้าง ไม่ว่าจะเจ็บกล้ามเนื้อจากการทรงตัวผิดท่า เจ็บจากกระดูกซี่โครงอ่อนอักเสบ เจ็บจากเส้นประสาทอักเสบเล็กๆน้อยๆ ไปจนถึงเจ็บหน้าอกจากความผิดปกติของหัวใจบางคนอาจบอกว่า "ผมก็เป็นบ่อยนะ เจ็บจี๊ดเข้าไปถึงหัวใจเวลาอกหักนะครับ แหะ แหะ" อย่างนี้ไม่ใช่การป่วยไข้ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • คุยกับหมอพินิจ
  • คุยกับหมอไพโรจน์
  • คู่มือครอบครัว
  • คู่มือหมอครอบครัว
  • จดหมายจากจอน
  • จดหมายเหตุเวชกรรมไทย
  • จิตวิทยา
  • จิตใจและกามารมณ์ในคนแก่
  • ฉลาดรู้
  • ฉลาดใช้... ยา
  • ชีพจร UC
  • ชีวิตปลอดภัยถ้าใส่ใจปฐมพยาบาล
  • ชี้ทิศ รู้สิทธิ
  • ดุลชีวิต
  • ด้วยรักและเกื้อกูล
  • ‹‹
  • 3 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa