คู่มือครอบครัว (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
288
ธันวาคม 2551
ตอนแรกที่ทราบว่าจะได้ออกเยี่ยมบ้าน พวกเรารู้สึกไม่อยากได้ผู้ป่วยสูงอายุ เพราะคิดว่า คนแก่มักจะหูตึง ความจำก็ไม่ดี คงจะคุยกันไม่รู้เรื่อง แต่หลังจากเยี่ยมบ้าน มุมมองของพวกเราเปลี่ยนไป ...กรณีศึกษาชายไทยคู่อายุ 76 ปี ป่วยเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมาประมาณ 10 ปี มีระดับน้ำตาลขึ้นๆลงๆ ทั้งที่บันทึกว่า มาตามนัดและใช้ยาตามแพทย์สั่ง ต่อมามีภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน ได้แก่ Diabetes Retinopathy, ...
-
วารสารคลินิก
284
สิงหาคม 2551
Uncontrolled DM...Whose fault?การไปศึกษาอยู่ในโรงพยาบาลชุมชนทำให้ได้เรียนรู้ทั้ง "โรค" และ "โลก" ในชุมชนที่เราไม่คุ้นเคย ได้ฝึกปฏิบัติทางคลินิกทั้งแผนกผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก เยี่ยมบ้าน ทำงานวิจัย และศึกษาระบบบริการสาธารณสุขทั้งที่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เราได้ ไปเยี่ยมบ้านเป็น "ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้" ใครๆก็ว่าเป็นความผิดของผู้ป่วยที่ ...
-
วารสารคลินิก
283
กรกฎาคม 2551
เครียดงาน (Work stress) !! เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยมากในเวชปฏิบัติครอบครัว แต่เมื่อแพทย์บอกผู้ป่วยว่าอาการต่างๆนั้นมีสาเหตุมาจากความเครียด มีน้อยคนมากที่จะยอมรับว่าเกิดขึ้นกับตนและรีบบอกปัดว่า "เปล่านะ ฉันไม่ได้คิดไปเอง" ทั้งนี้เพราะความหมายเชิงลบ นัยว่าเป็นความอ่อนแอที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาการทำงานของตนเองได้ ผู้ป่วยหลายคนจึงบอกว่าตนไม่เครียด ...
-
วารสารคลินิก
279
มีนาคม 2551
ในการดูแลแบบต่อเนื่องให้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเบาหวาน ความดันโลหิตสูง แพทย์ควรสนใจชีวิตด้าน อื่นๆของผู้ป่วยที่นอกเหนือจากการรักษาโรคด้วย เพราะสิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบถึงการดูแลตนเองและการควบคุมโรคของผู้ป่วย. ปัญหาเพศสัมพันธ์เป็นอีกปัญหาที่สำคัญและพบบ่อยในชีวิตคู่1 ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ผู้ป่วยมาปรึกษาโดยตรง ...
-
วารสารคลินิก
278
กุมภาพันธ์ 2551
วัยรุ่นเป็นรอยต่อระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ เป็นช่วงชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม จึงมีความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่มีลักษณะพิเศษจากวัยอื่นๆ. จากการศึกษา1พบว่า ในประเทศไทยมีจำนวนประชากรวัยรุ่นประมาณ 1 ใน 4 (ร้อยละ 23.8) ของประชากรทั้งหมด และมีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ได้แก่ อุบัติเหตุ (รถซิ่ง) ยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศ โรคอ้วน เป็นต้น. เมื่อสภาพสังคมเปลี่ยนไป ผู้ใหญ่ต้องเร่งรีบทำงาน ...
-
วารสารคลินิก
277
มกราคม 2551
ในปัจจุบัน การแพทย์ที่ทันสมัยสามารถยื้อชีวิตของผู้ป่วยได้ยาวนานขึ้น แต่ก็ทำให้ เกิดข้อข้องใจในบรรดาผู้เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะในรายที่เกิดภาวะ "เป็นผัก" (Persistent vegetative state-PVS). การยืดอายุด้วยเครื่องมือทางการแพทย์นานา ชนิดนั้นเหมาะสมหรือไม่ หรือจะใจร้ายเพิกเฉยไม่ใส่ใจดูแลเมื่อเห็นว่ารักษาไม่ได้ ถ้าเช่นนั้น การรักษา "คน" ที่เป็น "ผัก" ...
-
วารสารคลินิก
275
พฤศจิกายน 2550
หากกล่าวถึงปัญหาเรื่อง "ญาติขอรับยาแทน" แพทย์หลายคนคงเคยประสบปัญหานี้ และส่วนใหญ่ก็มักจะ จ่ายยาเดิม (Repeat medication; RM) กลับไป ปรากฏการณ์นี้ไม่ใช่สิ่งที่ควรมองข้าม เพราะพบได้แม้กระทั่งระดับสากล ดังจะเห็นได้จากระบบการจัด กลุ่มอาการและปัญหาสุขภาพที่พบได้ในเวชปฏิบัติปฐมภูมิ (The International Classification of Primary Care-2nd Edition ; ICPC-2)1 มีการจัดแยกแยะองค์ประกอบที่ 6 ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
บุคลากรทางการแพทย์ส่วนใหญ่คุ้นชินกับการพบเห็นความตาย (death) แต่ไม่ค่อยชินกับกระบวนการตาย (dying process) การเรียนรู้ที่จะดูแลอาการที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการตายจึงเป็นเรื่องใหม่และท้าทายสำหรับบุคลากรทางการแพทย์.คนส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 90 เสียชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไป มีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ที่เสียชีวิตแบบกะทันหัน ผู้คนส่วนใหญ่จึงมักเคยมีประสบการณ์พบเห็นอาการของผู้ป่วย ในช่วงสุดท้ายของชีวิต ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
-
วารสารคลินิก
258
มิถุนายน 2549
การทราบว่าตนเองกำลังจะเสียชีวิตเป็นสถานการณ์ที่ปรับตัวได้ยากที่สุดของมนุษย์ ในช่วงเวลาดังกล่าวผู้ป่วยมักจะมีความวิตกกังวล ซึมเศร้า และอาจใช้กลไกการเผชิญปัญหา (coping mechanism) ที่ไม่เหมาะสม ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยระยะสุดท้ายในโรงพยาบาลมีปัญหาทางจิตใจก่อนเสียชีวิต. ความเจ็บป่วยและความสามารถเผชิญหน้ากับความตายได้อย่างดีนั้นขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่ผ่านมาของแต่ละบุคคล ...