-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
ติดต่อทางลำไส้ไม่ใช่ทางลมหายใจ ผู้ป่วยบางรายเกิดการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ ทำให้หายใจลำบากและเสียชีวิตได้ จึงมีการคิดค้นวัคซีนชนิดกิน หรือ Oral Polio Vaccine (OPV) ขึ้นมาซึ่งสะดวกและทำให้มีภูมิคุ้มกันที่ลำไส้ไขสันหลังของคนเราถ้าตัดในแนวขวางจะเห็นว่ามี ๒ ส่วนคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
323
มีนาคม 2549
ทั่วโลกมีคนที่เสียชีวิตจากมาลาเรียประมาณ ๑ ล้านคนต่อปี แต่วัณโรคคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า ๒ ล้านคนต่อปีรู้จักวัณโรควัณโรค (Tuberculosis : TB) เป็นโรคที่พบมานานแล้ว มักเป็นภายในครอบครัว สมัยก่อนจึงเชื่อว่าถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกหลาน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๐๘ นักวิทยาศาสตร์ถึงพบว่ามันเป็นโรคติดต่อ ผู้ที่เป็นโรคนี้จึงถูกสังคมรังเกียจต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๒๕ Robert Koch ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
322
กุมภาพันธ์ 2549
คุณคิดว่า "อะไรทำให้สิ่งมีชีวิตแตกต่างจากก้อนหิน?"คำตอบคือดีเอ็นเอ (DNA) นั่นเอง เรื่องนี้ค่อนข้างยาวและอธิบายยากแต่ผมก็ยังอยากเล่าให้ฟังตั้งแต่สมัยฮิปโปคราตีส (Hippocrates) แล้วที่มีบันทึกว่าลูกหลานจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย แต่ไม่มีใครทราบว่าเป็นเพราะอะไรจนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๐๙ Gregor Mendel พระนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย ทำการศึกษาการถ่ายทอด ลักษณะต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
321
มกราคม 2549
ปัจจุบันคงไม่มีใครไม่รู้จักโคเลสเตอรอล (cholesterol) เพราะขณะนี้มีบทบาทในชีวิตคนเราเป็นอย่างมากโคเลสเตอรอลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๓๑๒ โดย Poulletier de la Salle ซึ่งได้บรรยายสารที่มีลักษณะแข็งสีขาวเป็นองค์ประกอบของนิ่วในถุงน้ำดีแต่ยังไม่มีชื่อเรียก โคเลสเทอรีนจนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๕๙ Michel Eugene Chevreul ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือโรคเอดส์ เพิ่งจะมีการค้นพบมา ๒๐ กว่าปี และทั่วโลกต่างหวาดกลัว เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้ ภูมิคุ้มกันบกพร่องก่อนอื่นคงต้องพูดถึงปี พ.ศ. ๒๔๕๒ Carlos Ribeiro Justiniano Chagas แพทย์ชาวบราซิล ค้นพบเชื้อที่ตอนนั้นคิดว่าเป็นโปรโตซัวชื่อ Pneumocystis carinii ซึ่งก่อโรคปอดบวม(Pneumonia) ในหนูและคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Immunodeficiency) โรคปอดบวมนี้เรียกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
เมื่อพูดถึงโรคเบาหวานชนิดที่ ๑ แพทย์ทุกคนคงตอบได้ว่าต้องใช้อินซูลินในการรักษา ที่ทราบก็เพราะอาจารย์สอนมาอย่างนั้น แล้วอาจารย์รู้ได้อย่างไร? ก็อาจารย์ของอาจารย์สอนมาอีกทีไง อ้าว! แล้วใครล่ะที่เริ่มเป็นคนแรก? ฟังดูน่าสนใจนะครับศตวรรษที่ ๑ Aulus Cornelius Celsus และ Araetus บันทึกไว้ว่า พบผู้ป่วยมีอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและผอมลง แต่ไม่ทราบว่าเป็นโรคอะไร ต่อมาศตวรรษที่ ๑๗ Thomas Willis ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
318
ตุลาคม 2548
โรคกระเพาะอาหารเป็นโรคติดต่อเมื่อหลายสิบปีก่อนถ้าบอกว่า "โรคกระเพาะอาหารเป็นโรคติดต่อ" คงถูกหัวเราะเยาะเป็นแน่ แต่ปัจจุบันไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว คิดว่าแพทย์ทุกคนคงทราบ แต่ประชาชนส่วนใหญ่อาจจะยังไม่ทราบต้นศตวรรษที่ ๒๐ เชื่อกันว่าโรคกระเพาะอาหารเกิดจากความเครียดและพฤติกรรมการกินอาหาร ต่อมาพบว่าตัวการสำคัญ คือ กรดในกระเพาะอาหาร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
การผ่าตัดหัวใจหัวใจของคนเราทำงานอย่างไร?ทำไมต้องทำทางเบี่ยง ลิ้นหัวใจเทียม หัวใจเทียม?"เป็นไปไม่ได้หรอกที่เราจะผ่าตัดเข้าไปทำอะไรกับหัวใจ""การผ่าตัดหัวใจไม่ว่าด้วยวิธีไหนก็ไม่มีทางที่จะเป็นไปได้" ศัลยแพทย์ชาวเยอรมันประสบความสำเร็จในการ เย็บแผลฉีกขาดที่หัวใจ เมื่อ ๑๐๐ ปีที่แล้วรู้จักการทำงานของหัวใจหัวใจคนเรามีทั้งหมด ๔ ห้องและเกี่ยวข้องกับลิ้นหัวใจอยู่ ๔ ลิ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
วัคซีน (Vaccine)รู้ไหมว่า"วัคซีน" มีที่มาที่ไปอย่างไร? เกี่ยวข้องกับไข้ทรพิษ (smallpox) ฝีดาษอย่างไร?ไข้ทรพิษ (ฝีดาษ)ไข้ทรพิษเป็นโรคติดต่อที่ร้ายแรงโรคหนึ่ง ผู้ติดเชื้อจะมีตุ่มพุพองตามร่างกายและมีอัตราการตายสูง ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญ มีบันทึกถึงเรื่องไข้ทรพิษครั้งแรกในประเทศจีน เมื่อลูกชายของนายกรัฐมนตรี หวังตัน (Wang Tan)เสียชีวิตจากโรคไข้ทรพิษ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
ยาเม็ดคุมกำเนิด (Contraceptive pill)เมื่อไม่นานมานี้ผู้นำสิงคโปร์ต้องออกมากระตุ้นให้ประชาชนผลิตทายาทเพิ่มขึ้น เพราะประเทศมีอัตราการเพิ่มของประชากรที่ต่ำมากเนื่องจากการคุมกำเนิดดีเกินไปที่ผ่านมาประชากรโลกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ทรัพยากรของโลกค่อยๆลดลง คนจึงพยายามหาวิธีคุมกำเนิด แต่ตอนแรกทำได้แค่วิธีธรรมชาติเท่านั้นจนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๔๐ Beard พบว่าเวลาที่รังไข่มี Corpus luteum ...