-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
127
พฤศจิกายน 2532
การเตรียมพร้อมในสงครามต้านเอดส์ในระยะนี้ใครๆ ก็พูดถึงการต่อสู้และการทำสงครามกับโรคเอดส์กัน ทั้งนี้คงเนื่องมาจากโรคนี้เป็นโรคแห่งความตายที่ยังไม่มียารักษาและมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะที่ผ่านมา ไหนๆ ก็ต้องต่อสู้หรือทำสงครามกับโรคเอดส์แล้ว ก็หวังที่จะได้ชัยชนะ และการจะได้มาซึ่งชัยชนะ ก็คงต้องมีการเตรียมพร้อมที่ดี จึงขอถือโอกาสนี้เสนอการเตรียมพร้อมที่จำเป็น 5 ประการด้วยกัน คือ1. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
107
มีนาคม 2531
เล่ามาตั้งยาวกว่าหนึ่งปี ผู้อ่านบางท่านคงจะเบื่อหน่าย แม้บางท่านอาจจะชอบใจบ้างก็ตาม โดยเขียนจดหมายถามไถ่มาถึงผม อย่างไรก็ตาม เห็นว่าได้พูดอะไรมายาวพอแล้วจากที่ได้ดูมา แม้จะยังมีอะไรจะเล่าอยู่อีกมากก็ตาม เห็นทีว่าน่าจะจบเรื่องของประเทศจีนลงตรงนี้ก่อน เพื่อที่จะข้ามไปสู่เรื่องอื่นต่อไปก่อนที่จะจบก็อดไม่ได้ที่จะต้องสรุปว่าผมไปดูงานสาธารณสุขมูลฐานในเมืองจีนนั้น ได้ให้บทเรียนอะไรกลับมาบ้าง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
106
กุมภาพันธ์ 2531
การประกันสุขภาพในประเทศจีน (12)เพื่อตอบสนองต่อนโยบายการพัฒนาสาธารณสุขของรัฐบาล พื้นที่ในแต่ละแห่ง ตั้งแต่ระดับภูมิภาคจังหวัดลงมาก็ต้องพยายามที่จะทำให้มีการบริการสาธารณสุขสามารถครอบคลุมประชาชนทุกหมู่เหล่าได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ จะทำเช่นนั้นได้จะต้องมีงบประมาณที่เพียงพอจึงจะทำได้ดังนั้นแต่ละแห่งจึงพยายามหาแหล่งงบประมาณมาช่วยให้ตนเองบรรลุวัตถุประสงค์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
105
มกราคม 2531
หมอเท้าเปล่าลือลั่น-2 ( 11)ในสถานบริการระดับหมู่บ้านซึ่งจะมีครบเกือบทุกหมู่บ้าน ยกเว้นในหมู่บ้านเล็กๆซึ่งน่าจะเกิดขึ้นใหม่จะมีผู้ให้บริการทางด้านสาธารณสุขมากที่สุด 3 คน คือหมอชนบท (หมอเท้าเปล่า) ผู้ช่วยพยาบาล และผดุงครรภ์ บางหมู่บ้านอาจจะมีเพียงหมอชนบท บางหมู่บ้านจะมีบุคลากรครบทั้ง 3 ประเภทโดยทั่วไปแล้วจะมีบุคลากรเหล่านี้ในระดับหมู่บ้านเฉลี่ยแล้ว 1.92 คนต่อหมู่บ้าน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
104
ธันวาคม 2530
หมอเท้าเปล่าอันลือลั่น-1(10)เราคงเคยได้ยินเรื่องของ “หมอเท้าเปล่า” มาเป็นเวลานานแล้ว หมอเท้าเปล่านับเป็นสัญลักษณ์ของการบรรลุถึงการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าของประเทศจีนสมัยกว่า 10 ปีที่ผ่านมาเป็นการปฏิวัติความเชื่อแต่ดั้งเดิม ซึ่งมีรากฐานมาจากตะวันตกว่าการแพทย์และการบริการสาธารณสุขนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
103
พฤศจิกายน 2530
การสาธารณสุขในระดับหมูบ้าน (9)หลังจากชมโรงพยาบาลระดับคอมมูนแล้ว เดินทางต่อไปยังหมู่บ้านซึ่งภาษามองโกลเรียกว่า กาช่า ทางเข้าหมู่บ้านเป็นถนนราดยาง มีเสาไฟฟ้าทั้ง 2 ข้างทาง แม้ว่าที่นี่จะห่างจากกรุงปักกิ่งถึงพันกว่ากิโลเมตร ยังมีไฟฟ้าเข้าถึงในหมู่บ้านชนบทเช่นนี้ ช่องว่างระหว่างเมืองหลวงกับชนบทของเขาไม่ต่างกันมากนักเมื่อไปถึงก็ได้พบกับหัวหน้ากาช่าเป็นคนแรก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
102
ตุลาคม 2530
“ท่าแซไบโน่” โรงพยาบาลระดับคอมมูน (8)ที่นี่เป็นถิ่นของมองโกลดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ดังนั้นจะมีคนจำนวนไม่น้อยที่ใช้ภาษามองโกลเป็นสื่อและเป็นภาษาประจำวัน โดยไม่ใช้ภาษาจีนกลางเลยคนเหล่านี้จะฟังภาษาจีนกลางเข้าใจ แต่จะพูดโต้ตอบออกมาเป็นภาษามองโกล ก็คงจะคล้ายๆ กับชาวชนบทในหลายพื้นที่ของไทย เช่น ในหมู่บ้านชนบทอีสานฟังภาษาไทยภาคกลางเข้าใจ แต่จะพูดโต้ตอบเป็นภาษาไทยท้องถิ่น ไทยลาว เป็นต้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
101
กันยายน 2530
ชมโรงพยาบาลอำเภอในเมืองจีน (7)นอกจากการได้ฟังการบรรยายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในห้องประชุมแล้ว ก็ยังมีการพาไปชมสถานที่และการปฏิบัติงานกันจริงๆในพื้นที่ ในวันที่ 4 พาไปชมโรงพยาบาลระดับ County หรืออำเภอสร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1984 สร้างเสร็จในปี 1986 ก่อนที่คณะของเราจะไปชมไม่นาน มีบริเวณพื้นที่ 4,200 ตารางเมตร ไปดูรอบๆต้นไม้ยังไม่ดีขึ้น ดูแล้วแห้งๆ ไม่สดใสคล้ายกับบ้านที่กำลังสร้างจวนจะแล้วเสร็จ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
100
สิงหาคม 2530
การควบคุมโรคติดต่อและการให้ภูมิคุ้มกัน (6)เราลองมาเล่าถึงการควบคุมโรคติดต่อในประเทศจีนกันบ้าง ด้วยนโยบายการป้องกันต้องมาก่อน (Preventive first) ทำให้รัฐบาลจีนให้ความสนใจเรื่องเกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อเป็นอันมาก มีโครงสร้างรองรับสำหรับการดำเนินการควบคุมโรคติดต่อตั้งแต่ระดับชาติลงมาจนถึงระดับอำเภอวิธีการควบคุมโรคที่จีนใช้กันอยู่มี 3 วิธีด้วยกัน คือ1. พยายามให้มีการรายงานและแจ้งให้รู้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
99
กรกฎาคม 2530
คืนอัปยศของผู้เผด็จการ (5)หลังจากที่เล่ามา 5 ตอนแล้วถึงการสาธารณสุขมูลฐานในสาธารณรัฐประชาชนจีน เรามาเปลี่ยนบรรยากาศเล่าถึงคนที่มาในกลุ่มบ้าง ซึ่งมาจากประเทศต่างๆกัน ส่วนใหญ่มาจากประเทศที่มีขอบเขตติดต่อกัน หรืออยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ประเทศฟิจิ หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะวานูอาตู ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศฟิลิปปินส์ รวมทั้งประเทศจีนซึ่งเป็นเจ้าภาพ นอกจากนั้นก็มาจากภูมิภาคอื่นของโลก เช่น ...