สมุนไพร
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
365
กันยายน 2552
สมุนไพรคืออะไรที่เกิดมาพร้อมการมีเรา... เผ่าพันธุ์มนุษย์ ไม่มีสมุนไพร ไม่มีเราวัฒนธรรมคือปราการ ที่มนุษย์สั่งสม ก่อเกิดเป็นภูมิคุ้มกัน ให้ชีวิตได้อยู่ร่วมกันอย่างมั่นคง ทั้งกาย ใจ จิตวิญญาณ สิ่งแวดล้อมและสังคม สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ที่นำสังคมให้พ้นจากสรรพภัยที่รุมเร้า เพราะเป็นสิ่งที่เรามี เราเป็น งานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติครั้งที่ ๖ ซึ่งจะจัดระหว่างวันที่ ๒-๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
355
พฤศจิกายน 2551
หลายทศวรรษที่ผ่านมามีหลักฐานที่ยืนยันชัดเจนว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์มากมาย เพราะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่เพียงเป็นการให้อาหารเพื่อให้ลูกอิ่มและสามารถเจริญเติบโตขึ้นได้เท่านั้น แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังเป็นการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้1. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
344
ธันวาคม 2550
นพ.ภาสกิจ (วิทวัส) วัณนาวิบูลผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ มองจากทัศนะแพทย์แผนจีน (๖)ฉบับที่แล้วพูดถึงพฤกษเคมี (phytochemical) ที่พบในผักและผลไม้ ซึ่งมีบทบาทในการป้องกันการเกิดโรคของร่างกาย โดยเฉพาะผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน สำหรับฉบับนี้เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยอาหารและสมุนไพรเพื่อนำมารักษาโรคตัวอย่างการศึกษาวิจัยอาหาร-สมุนไพร เพื่อนำมารักษาโรค๑.มะระ สารสกัดน้ำมะระมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
ชาติต่างๆ ย่อมมีภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตนเกี่ยวกับการกินการอยู่และการรักษาตัวซึ่งเหมาะสมสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมที่ชนชาตินั้นๆ อาศัยอยู่ สังคมก็เหมือนต้นไม้ที่ต้องมีรากรากของสังคมคือ วัฒนธรรมถ้าตัดรากต้นไม้อะไรเกิดขึ้นฉันใด การพัฒนาโดยตัดรากของสังคม ก็มีผลทำนองเดียวกันฉันนั้นการพัฒนาที่ทิ้งฐานทางวัฒนธรรมย่อมนำไปสู่วิกฤตการณ์เสมอไม่ได้หมายความว่าไม่ควรรับวัฒนธรรมอื่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจนว่าเชื้อไข้หวัดนกสามารถติดต่อได้จากคนไปสู่คนการระบาดของไข้หวัดนกการระบาดของไข้หวัดนกเอช ๕ เอ็น ๑ (H5N1) เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ในฮ่องกง ทำให้มีผู้ติดเชื้อ ๑๘ ราย เสียชีวิต ๖ ราย จากสาเหตุไปคลุกคลีกับสัตว์ปีกที่ติดเชื้อไวรัสเอช ๕ เอ็น ๑ ได้เข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และเริ่มพบผู้ป่วยในคนไทยตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
การป้องกันโรคไข้หวัดนก๑. ไข้หวัดนกเป็นโรคติดต่อในสัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ สามารถแพร่เชื้อได้จากน้ำมูก น้ำลาย มูลของสัตว์ที่ป่วยหรือตาย๒. คนติดโรคนี้ได้จากการสัมผัสกับ น้ำมูก น้ำลาย หรือมูลของสัตว์ปีกที่ป่วยหรือตายด้วยโรคไข้หวัดนก๓. ผู้ป่วยโรคไข้หวัดนกจะมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยเนื้อตัว อ่อนเพลีย เจ็บคอ ไอ หายใจลำบาก ปอดอักเสบ๔. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
312
เมษายน 2548
"นำน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้จากสมุนไพรธรรมชาติมาผสมกับสารธรรมชาติที่ช่วยให้ออกฤทธิ์ได้นานขึ้น สารให้ความชุ่มชื้นและกลิ่นจากธรรมชาติ ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันยุงกัดโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์แล้ว ได้รับการขึ้นทะเบียนตำรับมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข มีสรรพคุณในการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุง และลดอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลง"สมุนไพรธรรมชาติที่ใช้ประโยชน์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
"ใช้รักษาการบาดเจ็บและอักเสบของกล้ามเนื้อ หัวเข่า ข้อเท้าและข้ออื่นๆ ทำให้อาการปวด บวม เคล็ด ขัด ยอก ช้ำบวม ดีขึ้นอย่างน่าพอใจ แพทย์ได้ทดลองในผู้ป่วยและนักกีฬาจำนวน ๑๗๑ ราย ประชาชนสามารถทำใช้เองได้ ส่วนองค์การเภสัชกรรมผลิตในรูปแบบครีม ตามมาตรฐาน GMP เป็นยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ โรงพยาบาลต่างๆ มีไว้บริการผู้ป่วย"สมุนไพรไทยใช้รักษากล้ามเนื้อ หัวเข่าและข้อเท้า คือ "ไพล" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
นำสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการรักษาแผลเฉพาะที่ ที่เกิดจากเชื้อไวรัสและจุลินทรีย์ มาผ่านกระบวนการผลิตตามขั้นตอน GMP ตั้งแต่การสกัดสารออกฤทธิ์ ทดสอบ Antiviral activity ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อโดยรังสีแกมมา เตรียมเป็นยาใช้ทาภายนอก ๒ รูปแบบ คือ ครีมและกลีเซอรีน ทดสอบผลทางคลินิกโดยแพทย์และเภสัชกรสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย บรรเทาอาการทรมานและรักษาแผลเรื้อรังเฉพาะที่ได้ครอบคลุมมากกว่ายาแผนปัจจุบัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
"สระแก้ว" จังหวัดน้องใหม่ (๑๐ ปีที่แล้ว) ติดชายแดนไทย_กัมพูชา ที่แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้วคือ "มะขามป้อม""มะขามป้อม" นอกจากจะเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดแล้ว ยังเป็นต้นไม้มงคลที่มีการกล่าวถึงตั้งแต่สมัยพุทธกาลชาวฮินดูเรียกมะขามป้อมอีกชื่อหนึ่งว่า"อะมะลา" หรือ "อะมะลิกา" ตามพุทธประวัติกล่าวไว้เช่นเดียวกับมะม่วง ...