Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » ขัดหน้าด้วยสมุนไพรแล้วมี red papule
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

ขัดหน้าด้วยสมุนไพรแล้วมี red papule

โพสโดย thanyaporn เมื่อ 1 ธันวาคม 2550 00:00

ถาม ผู้ป่วยหญิง ไปขัดหน้าด้วยสมุนไพร แล้วต่อมามี red papule แบบ acne eruption ขึ้นเต็มหน้า ควรจะรักษาแบบ contact dermatitis หรือ acne ผู้ป่วยบางคนจะมี red papule เป็นๆ หายๆ อยู่หลายเดือนกว่าจะหาย.

 

สมาชิก

ตอบ ควรตรวจดูลักษณะของรอยโรคว่าเป็น acne vulgaris หรือ contact dermatitis โดยในสิวจะตรวจพบมี comedone เป็นลักษณะสำคัญ ถ้าเป็นสิว ให้การรักษาโดยยารักษาสิว เช่น benzoyl peroxide, tretinoic acid เป็นต้น. แต่ถ้ามีอาการคันและตรวจไม่พบ comedone น่าจะเป็นผื่นแพ้ สัมผัส (contact dermatitis) มากกว่า โดยชนิดของ contact dermatitis แบ่งเป็น irritant หรือ allergic ส่วนใหญ่แล้วถ้ามีประวัติไปขัดหน้าด้วยสมุนไพรแล้ว ไม่นานมีตุ่มขึ้นที่หน้าลักษณะคล้ายตุ่มหนอง. สารสมุนไพรนั้นน่าจะทำให้เกิด irritant contact dermatitis โดยสารนั้นไป irritate รูขุมขนแล้วทำให้เกิดสิว แต่ถ้ามีประวัติไปทำหน้ามาระยะหนึ่งแล้วถึงมีอาการ น่าจะเป็น allergic contact dermatitis โดยจะมีอาการคันร่วมด้วย. การรักษาระยะแรกอาจให้ mild potency topical steroid เช่น 1-2% hydrocortisone, 0.02% triamcinolone เพื่อลดการอักเสบ และกินยาแก้แพ้เพื่อลดอาการคัน จนลักษณะของผิวหนังอักเสบดีขึ้น.1

หากอยาก ทราบว่าเป็นจากสมุนไพรหรือไม่ ต้องทำ use test โดยใช้สารที่สงสัยทาบริเวณท้องแขนเป็นวงกลมเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 1 สัปดาห์ หากมีอาการคัน แดงหรือมีผื่นบริเวณนั้นมักเป็น allergic reaction. แต่ถ้าจะหาว่าสาเหตุเกิดจากสารชนิดใด ต้องขอส่วนผสมของสมุนไพรจากร้านที่ไปทำแล้วแยกสารออกมา test เป็นชนิดโดยทำ use test เช่นเดียวกัน นอกจากว่าจะสงสัยสาร preservative หรือ fragrance สามารถทำ standard patch test ก่อนก็ได้.2 อย่างไรก็ตาม ควรให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์เฉพาะทางและนำผลิตภัณฑ์ที่สงสัยมาด้วยจึงจะดีที่สุด.

เอกสารอ้างอิง
1. de Groot AC, Weyland JW, Nater JP. Acne-folliculitis. In : de Groot AC, Weyland JW, Nater JP. eds. Unwanted effects of cosmetics and drugs used in dermatology. 3rd ed. Elsevier Science B.V.,1994:171-3.
2. Rietschel RL, Fowler JF. Practical aspect of patch testing. In : Rietschel RL, Fowler JF, eds. Fisher's contact dermatology. 5th ed. Philadelphia : Williams&Wilkins, 2001:9-10.

ณัฏฐา รัชตะนาวิน พ.บ.
หน่วยโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล

บรรณาธิการ
สุรางค์ เจียมจรรยา พ.บ.
ศาสตราจารย์, ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล

 

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • โรคตามระบบ
  • โรคผิวหนัง
  • คุยสุขภาพ
  • ปัญหาวิชาการ
  • red papule
  • พญ.ณัฏฐา รัชตะนาวิน
  • รศ.นพ.นิรันดร์ วรรณประภา
  • ศ.พญ.สุรางค์ เจียมจรรยา
  • อ่าน 2,226 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa