Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » ออกผื่นในหญิงตั้งครรภ์
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

ออกผื่นในหญิงตั้งครรภ์

โพสโดย thanyaporn เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2550 00:00

ออกผื่นในหญิงตั้งครรภ์
ถาม
หญิงตั้งครรภ์มีอาการไข้ ออกผื่น สงสัยเป็นหัดเยอรมัน ควรให้การตรวจและรักษาอย่างไร.

ตอบ อาการไข้ร่วมกับการออกผื่น ไม่จำเป็นต้องเกิดจากโรคหัดเยอรมันเท่านั้น แต่ยังอาจเกิดจากโรคอื่นๆ ได้อีกมากมาย. เชื้อที่สำคัญ ได้แก่

1. Virus
1.1 Human immunodeficiency virus (HIV).
1.2 Cytomegalovirus.
1.3 Epstein-Barr virus.
1.4 Parvovirus B19.
1.5 Coxsackie virus.
1.6 Echovirus.

2. Bacteria
2.1 Mycoplasma pneumoniae.
2.2 Rickettsia เช่น R. typhi (murine typhus), Orientia (rickettsia) tsutsugamushi (scrub typhus).
2.3 Salmonella typhi.
2.4 Secondary syphilis.
2.5 Leptospira interrogans.

3. Fungus : disseminated fungal infection ซึ่งมักจะเป็นผู้ป่วยที่ภูมิต้านทานต่ำ.

 

ดังนั้นจะต้องซักประวัติเบื้องต้น ถึงการสัมผัสโรค การไปในแหล่งโรค รวมทั้งการตรวจร่างกายดูการกระจายของผื่น. สำหรับโรคหัดเยอรมันนั้นเป็น non-confluent maculopapular rashes ซึ่งเริ่มเป็นที่หน้าแล้วกระจายลงมาตามลำตัว ผิวหนังอาจจะหลุดลอกในระยะท้ายๆ ของโรค อาจพบ petechial lesion ที่ soft palate (Forscheimer spot) นอกจากนี้ จะพบต่อมน้ำเหลือง posterior auricular, posterior cervical และ suboccipital chain โต. ผู้ป่วยอาจม้ามโต และมีอาการปวดข้อได้. อาการปวดข้อมักเป็นที่ข้อนิ้ว ข้อมือ และเข่า ซึ่งอาจเริ่มพร้อมๆ กับการพบผื่น หรือมีอาการหลังจากนั้นก็ได้ และอาจปวดข้ออยู่นาน.

เชื้อจะแพร่กระจายทาง droplets ตั้งแต่ 10 วันก่อนมีผื่น จนกระทั่งหลังจากเริ่มออกผื่นไป แล้ว 15 วัน โดยช่วงที่เชื้อมีโอกาสแพร่กระจายมากที่สุด คือช่วงที่มีผื่น. อย่างไรก็ตาม ผู้ที่ไม่มีอาการก็อาจแพร่เชื้อได้เช่นกัน.

เมื่อพบผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์ที่มีไข้ออกผื่นจึงควรหาโรคอื่นด้วย โรคที่สำคัญที่อาจมีผลต่อทารกในครรภ์ คือ การติดเชื่อ HIV และ syphilis.

การวินิฉัยทำได้โดยการตรวจแอนติบอดีต่อหัดเยอรมัน ซึ่งจะพบมี IgM antibody จากการตรวจเลือด.

การรักษา ให้การรักษาตามอาการ.

สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ พ. บ.
หน่วยโรคภูมิแพ้และอิมมูโนวิทยา
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

บรรณาธิการ
สุรางค์ เจียมจรรยา พ.บ.
ศาสตราจารย์, ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล

 

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • การตั้งครรภ์
  • คุยสุขภาพ
  • ปัญหาวิชาการ
  • ออกผื่นในหญิงตั้งครรภ์
  • นพ.สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์
  • รศ.นพ.วินัย วนานุกูล
  • ศ.พญ.สุรางค์ เจียมจรรยา
  • อ่าน 4,261 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa