Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » Isotretinoin กับความสัมพันธ์ในการเกิด Hepatotoxic
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

Isotretinoin กับความสัมพันธ์ในการเกิด Hepatotoxic

โพสโดย Anonymous เมื่อ 1 ธันวาคม 2551 00:00

เมื่อกินวิตามินเอเข้าสู่ร่างกาย วิตามินเอจะไปสะสมที่ตับ และหากมีการสะสมของวิตามินเอสูง ก็อาจนำไปสู่ความผิดปกติที่เรียกว่าภาวะ hypervitaminosis A เนื่องจาก isotretinoin เป็น vitamin A (Retinol) analog. ดังนั้น อาการข้างเคียงจะคล้ายกับกลุ่มอาการ hypervitaminosis A ซึ่งอาการข้างเคียงที่ทั่วไป ได้แก่ ริมฝีปากอักเสบ (cheilitis) ผิวหนังแห้ง ผื่นคัน (pruritus) ตาแห้ง ตาอักเสบ (conjuctivitis) อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (myalgias) เมื่อยหล้า (fatigue) ปวดกระดูก (arthralgia). ส่วนอาการข้างเคียงที่พบและรุนแรง ได้แก่ ตับอ่อนอักเสบ (pancretitis) ซึมเศร้า (depression) มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (aggressive และ violent behavior) และพิษต่อตับ (hepatotoxicity) เป็นต้น.

Retinoids จะผ่านเข้าสู่ตับในรูป estinyl ester และจะถูกเก็บใน Stellate cells และจะถูกหลั่งออกมาในรูปของ Retinol ซึ่งเป็นตัวที่จับที่ transthyretin มีรายงานพบว่าผู้ที่ใช้ isotretinoin ในการรักษา จำนวนร้อยละ 15 จะพบค่า serum transminase, GGT, LDH ที่เพิ่มขึ้น และค่าดังกล่าวจะกลับสู่ปกติภายใน 2-4 สัปดาห์ ถึงแม้จะยังใช้ยาอย่างต่อเนื่อง มีรายงานการพบภาวะ hepatitis ที่สัมพันธ์กับการใช้ isotretinoin อย่างมีนัยสำคัญ แต่จะพบภาวะดังกล่าวใน retinoids ตัวอื่นๆ ได้มากกว่า และมีรายงานการเสียชีวิตจากการเกิด hepatitis ดังกล่าวอีกด้วย.

พบรายงานการใช้ acitrein ทำให้ตับถูกทำลายในการรักษาโรคสะเก็ดเงิน ทำให้ตับถูกทำลาย โดยพบอาการดีซ่าน ปัสสาวะดำ และค่า AST ALT ALP และ bilirubin เพิ่มขึ้นหลังจากใช้ยานาน 3 เดือน. การตรวจชิ้นเนื้อตับพบ portal expansion, ductular proliferation และ mixed inflammatory infiltrate. นอกจากนี้ ยังพบจุด cholanggiolitis การเน่าตายของ biliarytype piecemeal, mild cholestasis และมีการเริ่มสร้าง fibrosis เกิดขึ้น.

หลังหยุดยา 2 เดือนอาการและค่าเอนไซม์ลดลงเป็นปกติ และหลังจากหยุดยาได้ 7 เดือน ผลการตรวจชิ้นเนื้อตับครั้งที่สองพบ cholestasis ร่วมกับการอักเสบที่ lobular โดยพบ apoptotic bodies กระจายทั่วไป และ Kupffer cells ร่วมกับ foamy degeneration และเริ่มมี fibrosis ขยายเพิ่มขึ้น.
การรักษา palmoplantar psoriasis ขั้นรุนแรงด้วย etretinate พบว่าค่าการทำงานของตับเริ่มผิดปกติหลังการได้รับยาเป็นเวลา 12 สัปดาห์ จากนั้นหยุดการให้ยาดังกล่าวระดับเอนไซม์ตับลดลง แต่ค่าชีวเคมีบางชนิดยังคงสูงอยู่แม้จะเลิกใช้ยาไปนานกว่า 5 ปี. การทำลายตับเรื้อรังในผู้ป่วยรายนี้ น่าจะเกี่ยวข้องจากยา etretinate.

สรุป

ยากลุ่ม retinoids มีผลข้างเคียงต่อตับได้หลายลักษณะ เช่น acute hepatitis, chronic active hepatitis, cholestasis, fibrosis และ cirrhosis ซึ่งอาจเกิดการสะสมของยาที่ตับ. ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยา retinoids จึงควรตรวจค่าการทำงานของตับก่อนการเลือกใช้ยาและติดตามค่าการทำงานของตับอย่างใกล้ชิดในระหว่างการใช้ยา และหากพบความผิดปกติของตับเกิดขึ้น ควรพิจารณาลดขนาดยา หรือหยุดยา ร่วมกับพิจารณาหาสาเหตุอื่นๆ ร่วมด้วย.

เอกสารอ้างอิง
1. Ellis NC, Krach JK. Use and complication of isotretinoin therapy. J Am Acad Dermatol 2001; 45:S150-7.
2. DRUGDEXา editorial staff. Isotretinoin. In: Drugdex drug evaluations. MICROMEDREXา Healthcare series : MICROMEDREX, Greenwood Village, Colorado (Edition expires [1/2004]).
3. Roenigk HH, et al. Effects of acitrein on the liver. J Am Acad Dermatol 1999; 41:584-8.
4. Katz IH, Waalen J, Leach EE. Acitrein in psoriasis : An overview of adverse effects. J Am Acad Dermatol 1999; 41:S7-12.
5. Kreiss C, et al. Severe cholestatic hepatitis in a patient taking acitretin. AJG 2002:775-7.
6. Calza L, Verucchi G, Attard L, Manfredi R, Chiodo F. Chronic hepatitis with diffuse steatosis and slight fibrosis related to etretinate therapy. Case Rep Clin Pract Rev 2005; 6:20-23.
7. Stern SR, Fitzgerald E, Ellis NC, Lowe N, Goldfarb TM, Baughman DR. The safety of etretinate as long-term therapy for psoriasis : Result of the etretinate follow-up study. J Am Acad Dermatol 1995; 33:44-52.

กฤติน บัณฑิตานุกูล ภ.บ.,
คทา บัณฑิตานุกูล ภ.บ., B.Sc. in Pharm, M.Pharm.
(Community pharmacy) Board Certified of Pharmacotherapy ประธานมูลนิธิเภสัชกรรมชุมชน
 

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • ยาและวิธีใช้
  • คุยสุขภาพ
  • ดูแลสุขภาพ
  • ถาม-ตอบเรื่องยา
  • Hepatotoxic
  • Isotretinoin
  • นพ.กฤติน บัณฑิตานุกูล
  • ภก.คทา บัณฑิตานุกูล
  • อ่าน 3,963 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa