Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » การใช้วัคซีน OPV แบบ multi dose ในผู้ป่วยเด็ก
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

การใช้วัคซีน OPV แบบ multi dose ในผู้ป่วยเด็ก

โพสโดย somsak เมื่อ 1 เมษายน 2549 00:00

ถาม  :  การนำ OPV แบบ multi dose มาหยอดผู้ป่วยเด็ก 1 รายแล้วรีบนำไปเก็บในตู้เย็น potency  ของวัคซีนจะ loss ไปมากหรือไม่.ทำไมเมื่อเปิดแล้วให้ทิ้งไปเลยใน 24 ชั่วโมง ทำไมถึงนำมาใช้อีกไม่ได้ใน 2-3 วันถัดไป.


                                                                                                                                               สมาชิก


ตอบ  :
 โปลิโอวัคซีนชนิดกิน เป็นเชื้อไวรัสที่ยังมีชีวิต 3 ซีโรทัยพ์ ซีโรทัยพ์ 1 มี 1 ล้านหน่วย ซีโรทัยพ์ 2 มี 1 แสนหน่วย และซีโรทัยพ์ 3 มี 6 แสนหน่วยการเก็บไว้ในอุณหภูมิลบ 20 ๐ ซ.อยู่ได้นาน 2 ปี ถ้าอุณหภูมิ 0 ๐ ซ.อยู่ได้นานกว่า 6 เดือน มีการสูญเสียไวรัสไป 0.47 log หรือ 10 0.47 หน่วย และ 0.65 logหรือ 10 0.65  หน่วยต่อปีตามลำดับ ถ้าทิ้งไว้ที่ 22 ๐ ซ.จะสูญเสียไป 1.5 log หรือ 101.5 หน่วยใน 21 วันถ้าทิ้งไว้ 37 ๐ ซ. นาน 3 วัน เชื้อสูญเสียไปหมด.

ดังนั้นการนำออกมาจากตู้เย็น (0 ถึง 8 ๐ ซ.) มาใช้ในอุณหภูมิ 30 ถึง 37 ๐ ซ. ไม่กี่นาทีก็คงสูญเสียเชื้อวัคซีนไวรัสไปบ้าง แต่ก็น่าจะเพียงพอต่อการกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกัน.

อย่างไรก็ตาม การที่แนะนำว่าไม่ควรเก็บวัคซีนโปลิโอไว้เมื่อเปิดใช้แล้ว เป็นเพียงป้องกันวัคซีนมิให้ contaminate หรือปนเปื้อนเชื้อโรคอื่นอันจะมีผลรบกวนการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโปลิโอได้.

 

เอกสารอ้างอิง
 1. Sokhey J, Gupta CK, Sharma B, Singh H. Stability of oral polio vaccine at different temperatures. Vaccine 1988;6(1):12-3.

 2. Melnick JL. Thermostability of poliovirus and measles vaccines. Dev Biol Stand 1996;87:155-60. Review.

 3. Mirchamsy H, Shafyi A, Mahinpour M, Nazari P. Stabilizing effect of magnesium chloride and sucrose on Sabin live polio vaccine. Dev Biol Stand 1978;41:255-7.

 

นิรันดร์ วรรณประภา พ.บ.,รองศาสตราจารย์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล
สุรางค์ เจียมจรรยา พ.บ. ,ศาสตราจารย์, ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี,มหาวิทยาลัยมหิดล

 

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • คุยสุขภาพ
  • ปัญหาวิชาการ
  • รศ.นพ.นิรันดร์ วรรณประภา
  • ศ.พญ.สุรางค์ เจียมจรรยา
  • อ่าน 3,998 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa